เอิ่มเหมือนจะเข้าใจผิดไปหน่อยนะครับ110กับ220โดนดูดคนตายต่างก็ไม่กี่วินะครับ แถมความร้อนจากไฟฟ้าช็อดก็แทบไม่มีความต่างความต่างมีแค่110ไฟมันสเถียนกว่า ทำไห้เครื่องไช้ไฟฟ้าอายุการไช้งานนานกว่าแต่แลกมาด้วยระยะการจ่ายไฟที่สั้น ส่วนความปลอดภัยแทบไม่มีความต่างสำหรับไทยนะผมว่าหน้วยงานซ่อมบำรุงต่างหากที่จำเป็น ไม่ไช่เปรี่ยนระบบไฟฟ้าคุณรู้ไหมว่าไทยเราเคยเปรี่ยนอุปกรณ์ไฟฟ้า เมื่อหมดอายุหรือถึงเวลาซ่อมบำรุงไหมคำตอบคือไม่มีครับรอมันพังค่อยเปรี่ยน ดังนั้นไช้ระบบไหนมาไช้งานแต่การไช้งานแบบรอมันพังผลก็เท่าเดิม
ปล.ผมจะบอกไห้นะที่น้ำประปาไทยกินไม่ได้ทังๆที่ก็ไช้ระบบเดียวกับเมืองนอก เพราะระบบการทำงานของไทยรอไห้พังค่อยเปรี่ยนไงครับ ผลที่ได้ก็คือท่อเก่าขึ้นสนิมมีตระไคร่ เพราะไม่มีการซ่อมบำรุงและเปรี่ยนเมื่อหมดอายุการใช้งาน ิ
เมื่อก่อนไทยใช้ 110V ครับ แต่ก็เปลี่ยนเป็น 220V ในภายหลังครับ เหตุผลมาจากเรื่องงานวิจัยของเยอรมันเลยครับ
220V มันทำให้เกิดการ Loss ระหว่างเดินไฟน้อยกว่าครับ ต้นทุนจ่ายน้อยกว่า
ส่วนเรื่องไฟดูดตาย 220V ตายเร็วกว่าครับ ตามสูตร I = V/R ยิ่งกระแส(I)แอมป์มากๆ ยิ่งดูดแรง
ซึ่งมันจะแปรผันตรงกับ V ศักย์ไฟฟ้า และแปรผกผันกับ R ความต้านทาน
ถ้าเรียนฟิสิกต์ไฟฟ้า เขาจะเปรียบเรื่องไฟฟ้าเหมือนน้ำตกครับ
V = ความต่างศักย์ หรือก็คือความสูงของน้ำตก ยิ่งสูงมันก็ยิ่งตกลงมาแรง เหมือนกับ ศักย์ไฟฟ้ายิ่งสูง มันก็ก่อให้เกิดกระแสได้แรงตามครับ
R = ความต้านทาน ก็เหมือนแรงเสียดทานที่ทำให้น้ำตกไหลลงมาช้าลง
V/R ก็จะได้ความแรงของกระแสไฟ ซึ่งก็เสมือนกระแสน้ำตกที่ไหลตกลงมา