[quote/]
คนรวยสามารถล้มได้หลายครังเพื่อสำเหร็จครังเดียวแต่คนจนล้มได้ครังเดียวครับ อย่างเถ้าแก่น้อยแกสามารถลงทุนทำกิจการได้หลายอย่างล้มสิบครังสำเหร็จครังเดียวกำไรร้อยเท่า เท่ากับไม่ขาดทุนแต่คนปกติถ้าลงทุนพังครังเดียวมันก็ตายไปเลย คนอย่างตันที่ลงทุนครังเดียวสำเหร็จจะมีสักกี่คนครับความสำเหร็จ ของคนส่วนใหณ่อยู่ที่ครังแรกครับถ้าทำได้ก็จะมีเงินทุนแต่ถ้าล้มเหลวก็จบ คนรวยจึงมีไพ่เหนือกว่าเพราะล้มครังแรกและล้มได้หลายครัง อย่างตันเองก็ไช่ว่าจะลงทุนสำเหร็จทุกครังส่วนใหณ่ล้มเหลวมากกว่าด้วยซ้ำ ลองนับผลิตภันที่ตันลงทุนแล้วล้วเหลวมีเยอะมากครับ90%เลยด้วยซ้ำไปเพียงแต่ครังแรกๆ ประสบความสำเหร็จจนมีทุนไปโปะความล้มเหลวเท่านั้น
แสดงว่าคำนวณตามอัตราส่วนประสบความสำเร็จน้อยกว่าล้มเหลวร้อยเท่านี่เรือ่งจริงไม่ใช่คำเปรียบเปรยสินะครับ
ผมสะกิดใจเรือ่งนี้ตรงที่ วอเรนบัฟเฟตมองว่าการลงทุนทำธุรกิจคือความเสี่ยงน่ะครับ
ผมสังเกตพวกนี้คือคนที่รอบคอบยและขี้เหนียวเอามากๆหากพูดจาภาษาคนทั่วไป
อะไรที่ไม่มั่นใจพวกเขาไม่ทำ
หากพวกเขามองว่าเสี่ยงสูงก้น่าจะเสี่ยงสูงจริงๆ
[quote/] ผมเคยวิเคราะห์ Pyramid of Want นั้นอาจเป็นยอดแหลมจริง ด้วยหลายหัวข้อที่อาจต้องยกมาซะหน่อย
1.รัฐ - สังคมรวม (Society); สร้างขึ้นเพื่อให้คนกลุ่มหนึ่งมารวมกัน และมีคนกำกับ
2.นคร - เมืองเล็ก; แบ่งย่อยสำหรับเฉพาะคนที่ความสามารถอาศัยในพื้นที่ที่มีความยากไม่เท่ากัน
3.สกุลเงิน - การแลกเปลี่ยน; เพื่อความเท่าเทียมที่ 1 - 2+ คนยอมรับได้
ความสำคัญที่ต้องวิเคราะห์ข้อ 3ก็คือ; ผู้คนที่ได้รับการเติมเต็มจากสิ่งที่ซื้อมาได้ จะหาทางประคองตนให้ได้โดยที่ไม่ต้องแลกเปลี่ยน ถ้าหากสิ่งของ - ทรัพยากรอาหาร + น้ำ เป็นสิ่งผลิตซ้ำได้ ซึ่งขัดแย้งกับตรรกะของเศรษศาสตร์ ซึ่งก็เริ่มจากครอบครอง + ขโมย ทำทุกอย่างเพื่อสร้างปัญหาแล้วรอให้คนจนปัญญามาขอให้ช่วย
ซึ่งพอลองกลับมาดูใหม่จะเป็น ?? > ผู้ผลิตลำดับที่ 2 (อุตสาหกรรม) > ผู้ผลิต / ผู้บริโภคลำดับที่ 3 กระจายสินค้าสารพัดประโยชน์ > ผู้ผลิต / ผู้บริโภคลำดับที่ 4 วิศวกรลำดับต้น (คนสร้างอาคาร + สาธรณูปโภค > ผู้ผลิต / ผู้บริโภคลำดับที่ 5 Furniture บ้าน > ผู้ผลิต / ผู้บริโภคลำดับที่ 6 เครื่องครัว และเครื่องจักรทำความสะอาดทั้งหลาย > ผู้ผลิต / ผู้บริโภคลำดับที่ 7 สถาบันศึกษา + นักศึกษา ... และย่อยลงไปอีกเกินลำดับที่ 10
ตรงนี้ท่านคงเริ่มสังเกตบ้างแล้วว่าใครมันเป็นลำดับที่ 1 ที่แทบจะไม่ต้นทุนที่มี ยกเว้นกำลัง + สมอง อาจเป็นเกษตรกรก็ได้ ดังนั้น ผู้ไม่มีรายได้หรือช่วงเว้นระยะยาวกว่าของคนอื่นอาจกลายเป็นลำดับฐานของ Pyramid ดังนั้นแล้วหาก Demand ได้รับการเติมเต็มอย่างสมบูรณ์ โครงสร้างข้างบนจะถูกทุบเพราะไม่มีความจำเป็น เมื่อยังไม่เป็นจริง การจะหนีขึ้นไปจากการบริโภคจำเป็นนั้นยิ่งยากกว่าไม่อย่างนั้นต้นทุนที่โดนไล่เพิ่มราคาเป็นเนินมุมสูงมากๆ จะเแล่นทับผู้ประกอบการค้า / นักธุรกิจผู้นั้นอย่างไม่ปราณีแน่ครับ
ไปเจอคนบ่นในศาลมาน่ะครับ
ว่านโยบายทักษิณให้คนขายส้มตำกู้ห้าหมืนบาท
แต่ร้า่นที่เอามาเป็นหลักประกันนั้นเช่าเขาอยู่
นิติกรก็บ่นกัน ผมคิดเรือ่งนี้มาหลายปี
แสดงว่าคนจนจริงๆ ไม่มีสินทรัพย์ ไม่มีสิทธิเข้าถึงเงินกู้แม้แต่ห้าหมื่น
และร้านส้มตำ ก็ไม่ใช่ธุรกิจที่ควรจะเสี่ยงอะไรขนาดนั้นตามความรู้สึกของคนทั่วไปที่ชอบพูดว่า
"ทุกคนนต้องกินอาหารดีสุด" ทั้งที่ความจริงแล้ว มันเจ๊งหลายร้านนั่นล่ะ
[quote/]
ถ้าวงการธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง คำตอบคือ เป็นฝันร้ายที่เป็นความจริงครับ
ธุรกิจรับเหมาหน้าใหม่เกิดขึ้นเป็นหมื่นๆรายทุกปี แต่รอดจากปีแรกประมาณพันกว่าราย
และอยู่รอดเกินสิบปีแค่ร้อยกว่ารายครับที่ประคองตัวอยู่ได้ ยิ่งถ้าให้พัฒนากลายเป็นผรม.เจ้าใหญ่มีชื่อเสียงก็ยิ่งน้อยเข้าไปใหญ่ครับ
เนื่องจากธุรกิจก่อสร้างปัจจุบันเป็น Red Ocean(เป็นคำเปรียบเปรยธุรกิจที่มี Competitor เยอะ ตรงข้ามกับคำว่า Blue Ocean)
การที่ธุรกิจมีการแข่งขันเป็นสิ่งที่ดีครับ เพราะแต่ละธุรกิจต้องพัฒนาศักยภาพทั้งการบริหารการจัดการภายในและภายนอกให้ดียิ่งกว่าเดิมเพื่อรักษาตัวเองให้อยู่ในตลาดได้
ผลคือผู้บริโภคจะได้ประโยชน์ และ Product จะได้พัฒนาขึ้นต่อไปในอนาคต
ขอบคุณครับ
คือผมมองว่ามันคือระบบที่ไม่มีใครปลอดภัยยน่ะครับ
อย่างที่เคยคุยกันนั่นล่ะ
ระบบที่ไม่สนับสนุนให้คนเก็บเงืนไว้ในธนาคาร
แต่คนกว่า 98.7% ไใมม่สามารถลงทุนทางอื่นได้นอกจากเก้บเงินไว้ในธนาคาร
มันก็อนาถมากแล้วล่ะครับ หากลงทุนมีความเสี่ยงสูงขนาดนี้
อีกตำนานนึง ก็
ผู้พันแซนเดอร์ ที่ทำอะไรก็เจ๊งมาทั้งชีวิต จนรัฐส่งจม.มาหา
ว่าคุณได้สวัสดิการจากรัฐ เพราะอายุ60 รู้ตัวอีกทีแก่ป่านนี้แล้วยังทำอะไรไม่เป็นชิ้นเป็นอัน
จนจะไปผูกคอตายอยู่ล่ะ ยังดีแกยังนึกได้ว่ายังไม่เคยทำร้านอาหารเองสังครั้ง
อันนี้น่าสนใจว่า ของบางอย่างต้องมาถูกที่ถูกเวลาจริงๆ
แม็ตคโดนัลด์อะไรก็คล้ายๆกัน ตอนแรกเป็นร้านแบบภัะตตาคารด้วยซ้ำ แต่สุ้แนวฟาสฟู๊ดที่แยกมาของตนเองไม่ไ้ด
โน้ต อุดมขาดทุน แต่ราจได้จากเดี่ยว, เล่นหนัง, ออกรายการนู่นนี่เท่าไหร่ ล้มบนฟูก ซักพักก็ทำธุรกิจใหม่
ป๋าเทพก็เหมือนกัน รายได้สมัยเล่นตลก,แสดงหนัง,พิธีกรรายการต่างๆเท่าไหร่ไม่รู้ รู้แค่เยอะพอจนเอาเงินไปละลายธุรกิจให้เจ๊งได้หลายๆรอบ
คนมีต้นทุนเยอะกว่า ก็มีโอกาสสำเร็จมากกว่าคนต้นทุนน้อย
เหมือนคุณไปเล่นเกม arcade คนจนมีเงินแค่ 30 บาท เล่นได้แค่รอบเดียว คนเล่นจนเคลียร์มีน้อยมาก
ขณะที่คนรวย พกเงินมา 3 ล้าน continue ได้แสนครั้ง มันก็ต้องมีครั้งที่เคลียร์ได้แหละ
ก็นั่นล่ะครับ มีคนแวซว่าป่าเทพเจ๊ง
แต่ผมว่าเพราะป๋าเทพแกลงทุนทำบ่อยมากวก่า
ทั้งที่เราหากตามข่าว สมรักษ์ก็ทำธุรกิจเจ๊งเหมือนกัน
แต่ชือ่เสียงทางนั้นไม่เท่าป๋าเทพ
แสดงวง่ามันต้องมีอะไรแปลกๆแล้วล่ะครับในระบบแบบนี้
ที่พยายามบีบให้คนลงทุนประกอบกิจการ แต่กลับเจ๊งในกิจการทุกครั้งยิ่งกว่าการพนันเสียอีก