[quote/]
ในเรื่อง อธิบายไว้ว่าม ันไม่ตรงสาย ตามสาขาที่เรียนครับ
แต่ไปเรียนบัญชีเพิ่ม แล้วมาทำงาน ซึ่งก็ถือว่าตรงตามสายวิชา เพราะเป็นการคำนวนอย่างนึง
บ้าม่มีสอน อะไรแบบนี้ครับว่า
ถ้าจบสายทำวิจัยแบบนี้หางานตรงสายจริงๆ ไม่ได้ จะไปทำอาชีพที่ข้องเกี่ยวกับที่เรียนอย่างไร
[quote/]
อันนั้นมันเงินเดือน ไม่ใช่จำนวนตำแหน่งงาน ว่าจบมาแล้วจะได้งาน
แทบทุกสายอาชีพนั่นแหละ คนที่ขบมาไท่มีทางหางานตรงสายที่เรียนได้ทุกคน
ปัญหาคือ ถ้าทำงานไม่ตรงกับที่เรียนมาจริงๆ มันประยุคเอาไปทำอะไร อาชีพใดๆ ที่สามารถใช้ความรู้ที่เรียนมาได้ต่างหาก
จบเคมีไปทำอาหาร (cooking) ก็ตรงสายนะแบบ อจ. ไฮเซนเบิร์ก
บ้านเรา ก็มีข่าวจบเคมี มาทำร้านอาหาร ทำเนื้อเทียมจะโปรตีนสกัดเอง (จดสิทธบัตรด้วยนะ)
ระบบแน่ะแนวมันห่วยแตกครับ
สมัยผมเรียน แน่ะแนวคือวิชาที่ไร้ค่าเสียเวลาสุด
เพราะให้ทำงานแต่ไม่รู้ไว้ใช้ทำอะไร อ.ไม่เคยแน่ะแนวซักครั้ง
สงสัยให้ทำแบบสอบถามผลงานวิชาการ ของ อ.
พอแน่ะแนวห่วย คนมันก็เรียนไม่ตรงสาย
พอจบมาอาจจะทำงานไปก่อนบ้าง ถ้าบ้านมีกินก็ไปเรียนเพิ่มเปลี่ยนสายได้
ถ้าบ้านไม่มีตังพอ ก็ต้องทำงานอะไรก็ได้ไปก่อนยาวๆ
สุดท้ายก็เลยตามเลย
งานที่เขารับคนไม่ตรงสายเพียบอย่างกฏหมาย
เขาเน้นทำตามหนังสือครับไม่ต้องพัฒนารึประยุคใช้ไรมากมาย สอบผ่านก็งานทำได้
คือคนจบวิทมาอาจพลิกแพลงไปทำงานใหม่ๆเองได้
แต่คนยังไม่ได้เข้าไปเรียน เขาไม่ตัดสินจากคนบางคนที่เอาตัวรอดได้หรอกครับ
ส่วนใหญ่ก็ต้องการันตีมีงานให้ทำ เงินเดือนสูง
เช่น โปรแกรมเมอร์ เงินเดือนเริ่ม 3-5 หมื่น
หมอ ทำได้เป็นแสนถ้าขยัน
พวกทำนองนี้คนอยากเรียนเยอะ
หรือสมัยนี้มีนักร้อง นักกีฬาเพิ่มตามความชอบด้วย
เช่น เคยเห็น นร. ไปทดสอบแข่งเป็นเด็กฝึกทีมฟุตบอล
ถามมาหลายปีละเห็นเขาได้เงินเดือน 5000 บาท
แค่ไปฝึกหลังเลิกเรียน กับวันหยุด
บ้านรวยอาจไม่สน แต่กลุ่มค่าแรงขั้นต่ำนี่ถ้าลูกหาเงินได้ตั้งแต่ตอนเรียนนี่เขาสนับสนุนเต็มที่เลย