คือ จะโยงกันยังไวว่าไม่พร้อมครัย กรณี อาเมมิส ปัญหาเครื่องยนต์ ก็แค่เลื่อกำหนดปล่อยไปเรื่อยจนกว่าจะพร้อม
ล่าสุดก็โลพบ กฃับโลกมาแล้วนิ
คือ มันแปลกตรงไหนครับ ปล่อยจรวด นี่ผมเคยตามข่าว สมัยก่อน เขายังอธิบายเลยว่า ถ้าพลาด เวลาปล่อยไปแล้ว ก็ รอกันอีก อาจ ยาวตั้งแต่ไม่กี่วัน ยัน เดือนกว่า ตามสภาพ อากาศ
จรวด อวกาศไม่เช่นของเล่นแบบยิงได้ทุกสภาวะนะท่า แบบพวก icbm
icbm อย่าง ดิงฟอง (ใช่ป่าววะ)ของจีนที่เปิดไปไปหลายปีก่อน
ยังประเมินกันว่า1ลูก ราคาพอๆ กับงบส่งคนไปดวงจันทร์ ทั้งๆ ที่เอาไว้ยิงระยะ 4,000-5,000 กม. แพงบรรลัย
คือมันวัดที่ผลสรุปไง ถ้าไม่สำเร็จก็ = ไม่พร้อม
เพราะทุกชิ้นส่วนเขาคำนวนล่วงหน้าหมดแล้ว
เผื่อความปลอดภัยหมดแล้ว
อย่างงานที่ผมทำ เขาเผื่อไว้ 2 เท่าเลยนะ
เช่มสมมุติ ออกแบบรถบรรทุกรับน้ำหนักได้ 40 ตัน
แต่พอทดสอบจริงแล้ว รับได้ 20 ตันรถก็พัง
หรือ ออกแบบให้รถวิ่งไว 200 km/h แต่วิ่งแค่ 100 เครื่องยนต์ไหม้
ถ้ามันไปพังหลังจากยิงไปซักพักอันนี้ยังพอรับได้
แต่นี่เจ๊งตั้งแต่เริ่ม
แน่นอนครับว่าเทคโนโลยีถึงแล้ว
แต่พอเอามารวมกัน มันมีโอกาสออกแบบผิด
มันก็ต้องแก้นั่นแหล่ะ แล้วพังตั้งแต่เฟสแรก
ยังมีอีกหลายเฟส
อย่าคิดนะครับว่าแก้แค่นิดหน่อย
งานหลายอย่าง ถ้าแก้ตั้งแต่ต้น มันต่องแก้ทั้งระบบ
เช่น ออกแบบรับ นน.ได้ ...ตัน พอพังก็ต้องขยายขนาด
พอขยายขนาด ก็ต้องแก้ดีไซน์ เพิ่มการรับ นน.
เพิ่มเชื้อเพลิง
ถ้ามันเผื่อไว้ก่อนก็ไม่เป็นปัญหา แต่ของพวกนี้มันออกแบบเป๊ะๆ
ถ้าที่แก้ไม่เยอะมันก็อาจปรับได้
แต่ถ้าตัวเลขหลุดมากๆก็แก้ยาวๆ
ก็รอดูครับจะแก้นานแค่ไหน
ส่วนไอ้ที่เคยๆส่งขึ้นไปน่ะ ส่วนใหญ่ออกแบบไร้มนุษย์
คือมันต่างกันมาก แบบถ้าไม่มีคน ก็เร่งความเร็วได้เต็มที่
ถ้าให้เทียบก็เหมือนแข่งยก นน. ระหว่างยกรวดเดียว
กับค่อยๆยกขึ้นช้าๆ
ถ้ายกช้าๆ มันก็ยก นน.มากๆไม่ไหว
แถมดีไซน์ก็ต้องรองรับคนอยู่ด้วย
ส่วนสถานีอวกาศ ที่คนขึ้นไปได้ ระยะทางมันใกล้กว่า
เอาจริงๆ ทดสอบเรื่อยๆเดี๋ยวก็สำเร็จ
แต่นี่เราพูดถึงเรื่องเมื่อ 60 ปีก่อนไง
งานที่ทำได้รัวๆเมื่อ 60 ปีก่อน ปัจจุบันกลับทำพลาดตั้งแต่เริ่ม
มันชวนให้สงสัยไหมล่ะ ว่าเมื่อ 60 ปีก่อนทำได้จริงรึไม่
ถ้า artemis ไปพลาดหลังออกจากโลก
แล้วแค่ลงจอดไม่ได้ ยังพอนับว่าสำเร็จ
อันนี้พลาดตั้งแต่ก้าวแรก