แหล่งนิยายแปล แหล่งนิยาย นิยายแปล นิยายแต่ง มังงะ การ์ตูน อนิเมะ นายท่าน เว็บไซต์นายท่าน กระทู้สไลม์ สไลม์ยอดรัก

ผู้เขียน หัวข้อ: ก็งงกับ มาม่า เงินเดือน 15000  (อ่าน 3860 ครั้ง)

ออฟไลน์ Black7nos

  • แม่ทัพหมีอาวุโส
  • ****
  • กระทู้: 4,207
  • ถูกใจแล้ว: 3281 ครั้ง
  • ความนิยม: +208/-279
Re: ก็งงกับ มาม่า เงินเดือน 15000
« ตอบกลับ #40 เมื่อ: มิถุนายน 25, 2022, 01:17:55 PM »
จริงๆ พูดถึงเรื่องเงินเดือนขั้นต่ำ  แต่พอขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ ของต่างๆก็จะแพงขึ้น
เนื่องจาก Product Cost = Material + Labour + Equipment + POL + Service


ต่างประเทศจริงๆมันมีวิธีแก้ปัญหาโดยที่ไม่ต้องเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำ แต่มันมีกฎหมายอยู่มาตราหนึ่ง
"ภายในนิติบุคคลหรือองค์กรเดียวกัน เงินเดือนสูงสุดและต่ำสุด ห้ามห่างกันเกิน X เท่า"


ยกตัวอย่างเช่น ประเทศแถบสแกนดิเนเวีย ห้ามห่างกัน 6 เท่า (ส่วนประเทศอื่นจำนวนเท่าก็ต่างกันไปตามกฎหมายแต่ละประเทศ)
หมายความว่า เงินเดือนผู้บริหารสูงสุด 360,000 เหรียญ เงินเดือนต่ำสุดของพนักงานเข้าใหม่ก็คือ 360,000/6 = 60,000 เหรียญ


ด้วยวิธีนี้ทำให้ไม่ต้องขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ เนื่องจากการทำงบประมาณรายจ่ายของบริษัทนั้น เขาแบ่ง Budget เป็น % อยู่แล้ว
ตามสูตร Product Cost ซึ่งมันได้เฉลี่ยน้ำหนักเป็น % อยู่แล้ว


วิธีนี้แก้ปัญหาเหลื่่อมล้ำได้ดีที่สุดครับ
กราฟเงินเดือนของไทยมันจะเป็น Hyperbolar อย่างที่ผมเคยอธิบาย เริ่มต้นเงินเดือนเพิ่มน้อย แต่ใกล้เกษียณเงินเดือนจะเพิ่มเยอะ
เนื่องจากเงินเดือนของไทยคิดเพิ่มเป็น % มันจะเหมือนการคิดดอกเบี้ยที่มันจะทบต้นทบดอกไปเรื่อยๆ
(ซึ่งมันขัดต่อธรรมชาติที่ว่ายิ่งอายุมากยิ่งประสิทธิภาพร่างกายถดถอย)


ขณะที่กราฟเงินเดือนต่างประเทศที่พัฒนาแล้วมันจะเป็นกราฟเส้นตรงที่ Y = AX + B โดย B = เงินเดือนสูงสุด/จำนวนเท่า
ดังนั้นการคิดเงินเดือนของไทยมันจะยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำด้วยกลไกการทบต้นทบดอก แต่เริ่มต้นแย่
ขณะที่ต่างประเทศนั้นดีกว่าตรงเงินเดือนเริ่มต้นมันสูง แต่ขณะที่ Budget รายจ่ายยังคงเท่าเดิม โดยไม่ต้องเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำ

ส่วนคนไหนงงว่าจะตรวจสอบบริษัทเอกชนอย่างไรว่าทำตามข้อกำหนดควบคุมไม่ให้เงินเดือนสูงสุดกับต่ำสุดเกิน x เท่าจริงๆ รัฐจะเช็คได้อย่างไร
คำตอบคือเช็คจากภาษีหัก ณ ที่จ่ายของเงินเดือน(Withholding Tax) เนื่องจากบริษัทหรือนิติบุคคลมีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายนำส่งรัฐก่อนที่จะจ่ายเงินเดือนพนักงานอยู่แล้ว
ถ้าใครอ่านสลิปเงินเดือนก็จะเห็นว่าสลิปจะมีการเขียนว่า ภาษีหัก ณ ที่จ่ายเป็นเท่าไหร่ ดังนั้นถ้าคิดย้อนกลับก็จะรู้เงินเดือนของพนักงานคนนั้นทันที

และถ้ามีการแยก Database แยกหมวดหมู่นิติบุคคลดีๆ เราก็จะทราบจากฐานข้อมูลว่าภาษีหัก ณ ทีจ่ายของพนักงานในองค์กรนั้นๆสูงสุดกับต่ำสุดเป็นเท่าใด
แล้วก็คิดย้อนกลับ เราก็จะตรวจสอบได้ครับ

จริงๆ ผมอยากได้กฎหมายนี้มากกว่าไปเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำเสียอีก ผลกระทบน้อยกว่า เพราะ Budget เดิมมันตั้งกรอบ % ไว้อยู่แล้ว ไม่ได้กระทบใคร นอกจากตัวบริษัทเอกชนเองต้องเป็นคนปรับให้เข้ากับที่รัฐควบคุมจำนวน x เท่า ก็เท่านั้นเอง
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มิถุนายน 25, 2022, 01:25:52 PM โดย Black7nos »
ผู้กล้าอาณาจักรกุหลาบ https://goshujin.tk/index.php/topic,15078.0.html
ึคุณพ่อผมถูกเอาเงินจ้างฟาดหัว ผมเลยต้องมาเป็นนักมวยไทยที่ต่างแดน https://goshujin.tk/index.php?topic=32172.msg796105#msg796105
 
เหล่าหมีที่ถูกใจสิ่งนี้: thetoy323

ออฟไลน์ deaddy

  • จอมทัพหมีหนุ่ม
  • *
  • กระทู้: 7,614
  • ถูกใจแล้ว: 2808 ครั้ง
  • ความนิยม: +186/-185
Re: ก็งงกับ มาม่า เงินเดือน 15000
« ตอบกลับ #41 เมื่อ: มิถุนายน 25, 2022, 01:39:54 PM »
จริงๆ พูดถึงเรื่องเงินเดือนขั้นต่ำ  แต่พอขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ ของต่างๆก็จะแพงขึ้น
เนื่องจาก Product Cost = Material + Labour + Equipment + POL + Service


ต่างประเทศจริงๆมันมีวิธีแก้ปัญหาโดยที่ไม่ต้องเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำ แต่มันมีกฎหมายอยู่มาตราหนึ่ง
"ภายในนิติบุคคลหรือองค์กรเดียวกัน เงินเดือนสูงสุดและต่ำสุด ห้ามห่างกันเกิน X เท่า"


ยกตัวอย่างเช่น ประเทศแถบสแกนดิเนเวีย ห้ามห่างกัน 6 เท่า (ส่วนประเทศอื่นจำนวนเท่าก็ต่างกันไปตามกฎหมายแต่ละประเทศ)
หมายความว่า เงินเดือนผู้บริหารสูงสุด 360,000 เหรียญ เงินเดือนต่ำสุดของพนักงานเข้าใหม่ก็คือ 360,000/6 = 60,000 เหรียญ


ด้วยวิธีนี้ทำให้ไม่ต้องขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ เนื่องจากการทำงบประมาณรายจ่ายของบริษัทนั้น เขาแบ่ง Budget เป็น % อยู่แล้ว
ตามสูตร Product Cost ซึ่งมันได้เฉลี่ยน้ำหนักเป็น % อยู่แล้ว


วิธีนี้แก้ปัญหาเหลื่่อมล้ำได้ดีที่สุดครับ
กราฟเงินเดือนของไทยมันจะเป็น Hyperbolar อย่างที่ผมเคยอธิบาย เริ่มต้นเงินเดือนเพิ่มน้อย แต่ใกล้เกษียณเงินเดือนจะเพิ่มเยอะ
เนื่องจากเงินเดือนของไทยคิดเพิ่มเป็น % มันจะเหมือนการคิดดอกเบี้ยที่มันจะทบต้นทบดอกไปเรื่อยๆ
(ซึ่งมันขัดต่อธรรมชาติที่ว่ายิ่งอายุมากยิ่งประสิทธิภาพร่างกายถดถอย)


ขณะที่กราฟเงินเดือนต่างประเทศที่พัฒนาแล้วมันจะเป็นกราฟเส้นตรงที่ Y = AX + B โดย B = เงินเดือนสูงสุด/จำนวนเท่า
ดังนั้นการคิดเงินเดือนของไทยมันจะยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำด้วยกลไกการทบต้นทบดอก แต่เริ่มต้นแย่
ขณะที่ต่างประเทศนั้นดีกว่าตรงเงินเดือนเริ่มต้นมันสูง แต่ขณะที่ Budget รายจ่ายยังคงเท่าเดิม โดยไม่ต้องเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำ

ส่วนคนไหนงงว่าจะตรวจสอบบริษัทเอกชนอย่างไรว่าทำตามข้อกำหนดควบคุมไม่ให้เงินเดือนสูงสุดกับต่ำสุดเกิน x เท่าจริงๆ รัฐจะเช็คได้อย่างไร
คำตอบคือเช็คจากภาษีหัก ณ ที่จ่ายของเงินเดือน(Withholding Tax) เนื่องจากบริษัทหรือนิติบุคคลมีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายนำส่งรัฐก่อนที่จะจ่ายเงินเดือนพนักงานอยู่แล้ว
ถ้าใครอ่านสลิปเงินเดือนก็จะเห็นว่าสลิปจะมีการเขียนว่า ภาษีหัก ณ ที่จ่ายเป็นเท่าไหร่ ดังนั้นถ้าคิดย้อนกลับก็จะรู้เงินเดือนของพนักงานคนนั้นทันที

และถ้ามีการแยก Database แยกหมวดหมู่นิติบุคคลดีๆ เราก็จะทราบจากฐานข้อมูลว่าภาษีหัก ณ ทีจ่ายของพนักงานในองค์กรนั้นๆสูงสุดกับต่ำสุดเป็นเท่าใด
แล้วก็คิดย้อนกลับ เราก็จะตรวจสอบได้ครับ

จริงๆ ผมอยากได้กฎหมายนี้มากกว่าไปเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำเสียอีก ผลกระทบน้อยกว่า เพราะ Budget เดิมมันตั้งกรอบ % ไว้อยู่แล้ว ไม่ได้กระทบใคร นอกจากตัวบริษัทเอกชนเองต้องเป็นคนปรับให้เข้ากับที่รัฐควบคุมจำนวน x เท่า ก็เท่านั้นเอง



มันเหมือนเป็นกรอบไว้กดค่าแรงผู้บริหาร หรือ
ช่วยดึงค่าจ้างต่ำสุดขึ้นเฉยๆ


แต่เอาเข้าจริงก็แค่จ้าง บ.แยกออกไป เพื่อกดราคา
และให้ผลประโยชน์แก่ผู้บริหารที่ไม่ใช่เงินเดือน


อย่าง โบนัส หุ้น ค่านายหน้า หรือรางวัลต่างๆ


อย่างนักฟุตบอล มีค่าจ้างตั้งแต่หลักร้อย ยันหลักแสนในทีมเดียวกัน
ก็ไม่รู้ว่ากฏนั่นยกเว้นหรือ ไม่ได้ประกาศใช้ก็ไม่รู้นะ


แต่มีผู้บริหารหลายคนในประเทศตะวันตก
แทบไม่รับเงินเดือน และถือหุ้นแทน
 

ออฟไลน์ Silberd

  • หัวหน้าฝูงหมีกลาง
  • ****
  • กระทู้: 926
  • ถูกใจแล้ว: 328 ครั้ง
  • ความนิยม: +29/-14
Re: ก็งงกับ มาม่า เงินเดือน 15000
« ตอบกลับ #42 เมื่อ: มิถุนายน 25, 2022, 03:15:04 PM »
จริงๆ พูดถึงเรื่องเงินเดือนขั้นต่ำ  แต่พอขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ ของต่างๆก็จะแพงขึ้น
เนื่องจาก Product Cost = Material + Labour + Equipment + POL + Service


ต่างประเทศจริงๆมันมีวิธีแก้ปัญหาโดยที่ไม่ต้องเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำ แต่มันมีกฎหมายอยู่มาตราหนึ่ง
"ภายในนิติบุคคลหรือองค์กรเดียวกัน เงินเดือนสูงสุดและต่ำสุด ห้ามห่างกันเกิน X เท่า"


ยกตัวอย่างเช่น ประเทศแถบสแกนดิเนเวีย ห้ามห่างกัน 6 เท่า (ส่วนประเทศอื่นจำนวนเท่าก็ต่างกันไปตามกฎหมายแต่ละประเทศ)
หมายความว่า เงินเดือนผู้บริหารสูงสุด 360,000 เหรียญ เงินเดือนต่ำสุดของพนักงานเข้าใหม่ก็คือ 360,000/6 = 60,000 เหรียญ


ด้วยวิธีนี้ทำให้ไม่ต้องขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ เนื่องจากการทำงบประมาณรายจ่ายของบริษัทนั้น เขาแบ่ง Budget เป็น % อยู่แล้ว
ตามสูตร Product Cost ซึ่งมันได้เฉลี่ยน้ำหนักเป็น % อยู่แล้ว


วิธีนี้แก้ปัญหาเหลื่่อมล้ำได้ดีที่สุดครับ
กราฟเงินเดือนของไทยมันจะเป็น Hyperbolar อย่างที่ผมเคยอธิบาย เริ่มต้นเงินเดือนเพิ่มน้อย แต่ใกล้เกษียณเงินเดือนจะเพิ่มเยอะ
เนื่องจากเงินเดือนของไทยคิดเพิ่มเป็น % มันจะเหมือนการคิดดอกเบี้ยที่มันจะทบต้นทบดอกไปเรื่อยๆ
(ซึ่งมันขัดต่อธรรมชาติที่ว่ายิ่งอายุมากยิ่งประสิทธิภาพร่างกายถดถอย)


ขณะที่กราฟเงินเดือนต่างประเทศที่พัฒนาแล้วมันจะเป็นกราฟเส้นตรงที่ Y = AX + B โดย B = เงินเดือนสูงสุด/จำนวนเท่า
ดังนั้นการคิดเงินเดือนของไทยมันจะยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำด้วยกลไกการทบต้นทบดอก แต่เริ่มต้นแย่
ขณะที่ต่างประเทศนั้นดีกว่าตรงเงินเดือนเริ่มต้นมันสูง แต่ขณะที่ Budget รายจ่ายยังคงเท่าเดิม โดยไม่ต้องเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำ

ส่วนคนไหนงงว่าจะตรวจสอบบริษัทเอกชนอย่างไรว่าทำตามข้อกำหนดควบคุมไม่ให้เงินเดือนสูงสุดกับต่ำสุดเกิน x เท่าจริงๆ รัฐจะเช็คได้อย่างไร
คำตอบคือเช็คจากภาษีหัก ณ ที่จ่ายของเงินเดือน(Withholding Tax) เนื่องจากบริษัทหรือนิติบุคคลมีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายนำส่งรัฐก่อนที่จะจ่ายเงินเดือนพนักงานอยู่แล้ว
ถ้าใครอ่านสลิปเงินเดือนก็จะเห็นว่าสลิปจะมีการเขียนว่า ภาษีหัก ณ ที่จ่ายเป็นเท่าไหร่ ดังนั้นถ้าคิดย้อนกลับก็จะรู้เงินเดือนของพนักงานคนนั้นทันที

และถ้ามีการแยก Database แยกหมวดหมู่นิติบุคคลดีๆ เราก็จะทราบจากฐานข้อมูลว่าภาษีหัก ณ ทีจ่ายของพนักงานในองค์กรนั้นๆสูงสุดกับต่ำสุดเป็นเท่าใด
แล้วก็คิดย้อนกลับ เราก็จะตรวจสอบได้ครับ

จริงๆ ผมอยากได้กฎหมายนี้มากกว่าไปเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำเสียอีก ผลกระทบน้อยกว่า เพราะ Budget เดิมมันตั้งกรอบ % ไว้อยู่แล้ว ไม่ได้กระทบใคร นอกจากตัวบริษัทเอกชนเองต้องเป็นคนปรับให้เข้ากับที่รัฐควบคุมจำนวน x เท่า ก็เท่านั้นเอง
ข้อนี้แค่บ.ผมก็ไม่รอดแล้วครับ บ.ทีทำอยู่ใช้วิธีแยกเงินเดือนเป็น เงินเดือน+ค่าตำแหน่ง+ค่าวิชาชีพ เวลาจ่ายภาษีอิงตามภาษาที่คิดตรงเงินเดือนค่าเดียวและเวลาคิดค่าโอทีก็ตรงเงินเดือนค่าเดียวเหมือนกัน ผมเลยเป็นกลุ่มพนักงานชั้นเลวที่ไม่ยอมทำโอทีไปเลย 8)  แล้วเอาจริงๆบ้านเรามันอะไรนักหนาอิงตามภาษาเปะๆอะไรกันนัก ขนาดนโยบายเรียนฟรีไม่มีค่าเทอม รร.ใช้เปลี่ยนภาษาเป็นค่าบำรุงรร.ก็เก็บเงินได้ต่อแล้ว กฎที่ใช้คำต่างนิดเดียวก็เลี่ยงได้แล้วนี่มีที่ไหนในโลกบ้างฟระ
สาวยันนี่น่ารักจริงๆ
 

ออฟไลน์ samuison

  • ยอดกวีแห่งเขาเซนนิคุมะ
  • จอมทัพหมีหนุ่ม
  • *
  • กระทู้: 8,978
  • ถูกใจแล้ว: 2935 ครั้ง
  • ความนิยม: +162/-427
Re: ก็งงกับ มาม่า เงินเดือน 15000
« ตอบกลับ #43 เมื่อ: มิถุนายน 25, 2022, 05:20:15 PM »
[quote/]


มันเหมือนเป็นกรอบไว้กดค่าแรงผู้บริหาร หรือ
ช่วยดึงค่าจ้างต่ำสุดขึ้นเฉยๆ


แต่เอาเข้าจริงก็แค่จ้าง บ.แยกออกไป เพื่อกดราคา
และให้ผลประโยชน์แก่ผู้บริหารที่ไม่ใช่เงินเดือน


อย่าง โบนัส หุ้น ค่านายหน้า หรือรางวัลต่างๆ


อย่างนักฟุตบอล มีค่าจ้างตั้งแต่หลักร้อย ยันหลักแสนในทีมเดียวกัน
ก็ไม่รู้ว่ากฏนั่นยกเว้นหรือ ไม่ได้ประกาศใช้ก็ไม่รู้นะ


แต่มีผู้บริหารหลายคนในประเทศตะวันตก
แทบไม่รับเงินเดือน และถือหุ้นแทน
ผมว่าอย่างนั้นก็โอเคนะครับคิดว่าทำได้ ;D
ความจริงมันมีการตีความ"ผลประโยชน์อื่นใด"อยุ่นะครับถ้าตีควาและเข้ทมงวดกันจริงๆล่ะก็อนิจจาประเทศเรามีศรีธนญชัยเยอะเกินไปกม.ล้มละลาย ฟื้นฟูกิจการก็เกิดขึ้นเพราะคนรวยเป็นสส. และล้มละลายนี่ล่ะ
http://goshujin.tk/index.php?topic=944.0
นิยาย crossover Harry Potter/Type Moon ดูว่าคนที่มีเวทมนตร์อย่างแฮร์รี่ จะเอาตัวรอดอย่างไร ในโลกที่โหดร้ายของ ไทป์มูน
 

ออฟไลน์ Black7nos

  • แม่ทัพหมีอาวุโส
  • ****
  • กระทู้: 4,207
  • ถูกใจแล้ว: 3281 ครั้ง
  • ความนิยม: +208/-279
Re: ก็งงกับ มาม่า เงินเดือน 15000
« ตอบกลับ #44 เมื่อ: มิถุนายน 25, 2022, 08:50:12 PM »
[quote/]


มันเหมือนเป็นกรอบไว้กดค่าแรงผู้บริหาร หรือ
ช่วยดึงค่าจ้างต่ำสุดขึ้นเฉยๆ


แต่เอาเข้าจริงก็แค่จ้าง บ.แยกออกไป เพื่อกดราคา
และให้ผลประโยชน์แก่ผู้บริหารที่ไม่ใช่เงินเดือน


อย่าง โบนัส หุ้น ค่านายหน้า หรือรางวัลต่างๆ


อย่างนักฟุตบอล มีค่าจ้างตั้งแต่หลักร้อย ยันหลักแสนในทีมเดียวกัน
ก็ไม่รู้ว่ากฏนั่นยกเว้นหรือ ไม่ได้ประกาศใช้ก็ไม่รู้นะ


แต่มีผู้บริหารหลายคนในประเทศตะวันตก
แทบไม่รับเงินเดือน และถือหุ้นแทน


จริงๆ ในกีฬาเองก็มีกฎที่เรียกว่า FFP หรือ Financial Fair Play อยู่ครับ
ยกตัวอย่าง
ฟุตบอล จะมี FFP คือ ห้ามรายจ่ายของเงินเดือนหลังรวมภาษีเงินได้และภาษี Luxury เกิน 70% ของรายได้ของนิติบุคคลพึงประเมิน
พูดง่ายๆ ก็คือมันมีการสร้างกรอบ Maximum Cap เอาไว้นั่นเอง


บาสเกตบอล NBA เองก็มี Maximum Cap เงินเดือนรวมกันอยู่ที่ 112.4 ล้านเหรียญดอลลาห์หลังรวมภาษีเงินได้และภาษี Luxury
อเมริกันฟุตบอล ก็มี Maximum Cap ของเงินเดือนรวมกันอยู่ที่ 208.2 ล้านเหรียญดอลลาห์หลังรวมภาษีเงินได้และภาษี Luxury
นอกจากนี้ยังมีกฎ Space Cap คือห้ามเงินเดือนมากที่สุดห่างจากน้อยที่สุดเท่าไหร่


จะเห็นได้ว่าจริงๆแล้วชาวตะวันตกนั้นคุ้นชินกับเรื่องการตั้งกรอบ Budget เงินเดือนรวมของแรงงานมาตั้งนานแล้วครับ เพียงแต่บ้านเราไม่เคยพูดถึงกันก็เท่านั้นเอง


[quote/]ข้อนี้แค่บ.ผมก็ไม่รอดแล้วครับ บ.ทีทำอยู่ใช้วิธีแยกเงินเดือนเป็น เงินเดือน+ค่าตำแหน่ง+ค่าวิชาชีพ เวลาจ่ายภาษีอิงตามภาษาที่คิดตรงเงินเดือนค่าเดียวและเวลาคิดค่าโอทีก็ตรงเงินเดือนค่าเดียวเหมือนกัน ผมเลยเป็นกลุ่มพนักงานชั้นเลวที่ไม่ยอมทำโอทีไปเลย 8)  แล้วเอาจริงๆบ้านเรามันอะไรนักหนาอิงตามภาษาเปะๆอะไรกันนัก ขนาดนโยบายเรียนฟรีไม่มีค่าเทอม รร.ใช้เปลี่ยนภาษาเป็นค่าบำรุงรร.ก็เก็บเงินได้ต่อแล้ว กฎที่ใช้คำต่างนิดเดียวก็เลี่ยงได้แล้วนี่มีที่ไหนในโลกบ้างฟระ


จริงๆต่อให้แยกเงินเดือนเป็น Basis+Position+Specialist มันก็คิดแบบต่างประเทศ จริงๆ ต่างประเทศมันก็ Breakdown แยกนะครับ แต่พอรวมกันแล้วมันห้ามเกินก็เท่านั้นเองครับ
ปัญหาที่เงินเดือนมันเกิน X เท่า มันเกิดจากการที่เราประเมินเงินเดือนเพิ่ม เราไปเพิ่มแบบ % ทบต้นทบตอก มันก็ยิ่งทวีคูณ เหลื่อมล้ำมากขึ้นเรื่อยๆ


แต่โดยทั่วไปสากลตะวันตกมันจะคิดแบบนี้กันครับ ยกตัวอย่าง
เงินเดือนเด็กใหม่ = Basis + Position + Specialist = 60,000 + 0 + 0 = 60,000 บาท
เงินเดือนผู้บริหาร = 60,000 + 250,000 + 50,000 = 360,000 บาท


จะเห็นได้ว่า Basis หรือค่าแรงขั้นต่ำ ไม่ว่าเด็กใหม่กับผู้บริหารยังคงเท่ากัน เพราะถ้าไปคูณช่อง Basis มันอาจจะทวีคูณจนเกิน Cap
สิ่งที่เพิ่มจะไปลงช่อง Postion หรือ Experience กับ Specialist แทน ซึ่งตรงนี้เราสามารถ Lock Maximum Cap ได้ครับ เพราะเราสามารถกำหนดให้เหมาะสม
ถ้าแบ่งแบบนี้ยังไงก็จะสามารถ Control Cap ของ Maximum กับ Minimum ของเงินเดือนในบริษัทเดียวกันได้
ผู้กล้าอาณาจักรกุหลาบ https://goshujin.tk/index.php/topic,15078.0.html
ึคุณพ่อผมถูกเอาเงินจ้างฟาดหัว ผมเลยต้องมาเป็นนักมวยไทยที่ต่างแดน https://goshujin.tk/index.php?topic=32172.msg796105#msg796105
 

ออฟไลน์ Rumia

  • จอมทัพหมีหนุ่ม
  • *
  • กระทู้: 8,200
  • ถูกใจแล้ว: 3876 ครั้ง
  • ความนิยม: +297/-400
Re: ก็งงกับ มาม่า เงินเดือน 15000
« ตอบกลับ #45 เมื่อ: มิถุนายน 25, 2022, 09:32:44 PM »
จริงๆ พูดถึงเรื่องเงินเดือนขั้นต่ำ  แต่พอขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ ของต่างๆก็จะแพงขึ้น
เนื่องจาก Product Cost = Material + Labour + Equipment + POL + Service


ต่างประเทศจริงๆมันมีวิธีแก้ปัญหาโดยที่ไม่ต้องเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำ แต่มันมีกฎหมายอยู่มาตราหนึ่ง
"ภายในนิติบุคคลหรือองค์กรเดียวกัน เงินเดือนสูงสุดและต่ำสุด ห้ามห่างกันเกิน X เท่า"


ยกตัวอย่างเช่น ประเทศแถบสแกนดิเนเวีย ห้ามห่างกัน 6 เท่า (ส่วนประเทศอื่นจำนวนเท่าก็ต่างกันไปตามกฎหมายแต่ละประเทศ)
หมายความว่า เงินเดือนผู้บริหารสูงสุด 360,000 เหรียญ เงินเดือนต่ำสุดของพนักงานเข้าใหม่ก็คือ 360,000/6 = 60,000 เหรียญ


ด้วยวิธีนี้ทำให้ไม่ต้องขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ เนื่องจากการทำงบประมาณรายจ่ายของบริษัทนั้น เขาแบ่ง Budget เป็น % อยู่แล้ว
ตามสูตร Product Cost ซึ่งมันได้เฉลี่ยน้ำหนักเป็น % อยู่แล้ว


วิธีนี้แก้ปัญหาเหลื่่อมล้ำได้ดีที่สุดครับ
กราฟเงินเดือนของไทยมันจะเป็น Hyperbolar อย่างที่ผมเคยอธิบาย เริ่มต้นเงินเดือนเพิ่มน้อย แต่ใกล้เกษียณเงินเดือนจะเพิ่มเยอะ
เนื่องจากเงินเดือนของไทยคิดเพิ่มเป็น % มันจะเหมือนการคิดดอกเบี้ยที่มันจะทบต้นทบดอกไปเรื่อยๆ
(ซึ่งมันขัดต่อธรรมชาติที่ว่ายิ่งอายุมากยิ่งประสิทธิภาพร่างกายถดถอย)


ขณะที่กราฟเงินเดือนต่างประเทศที่พัฒนาแล้วมันจะเป็นกราฟเส้นตรงที่ Y = AX + B โดย B = เงินเดือนสูงสุด/จำนวนเท่า
ดังนั้นการคิดเงินเดือนของไทยมันจะยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำด้วยกลไกการทบต้นทบดอก แต่เริ่มต้นแย่
ขณะที่ต่างประเทศนั้นดีกว่าตรงเงินเดือนเริ่มต้นมันสูง แต่ขณะที่ Budget รายจ่ายยังคงเท่าเดิม โดยไม่ต้องเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำ

ส่วนคนไหนงงว่าจะตรวจสอบบริษัทเอกชนอย่างไรว่าทำตามข้อกำหนดควบคุมไม่ให้เงินเดือนสูงสุดกับต่ำสุดเกิน x เท่าจริงๆ รัฐจะเช็คได้อย่างไร
คำตอบคือเช็คจากภาษีหัก ณ ที่จ่ายของเงินเดือน(Withholding Tax) เนื่องจากบริษัทหรือนิติบุคคลมีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายนำส่งรัฐก่อนที่จะจ่ายเงินเดือนพนักงานอยู่แล้ว
ถ้าใครอ่านสลิปเงินเดือนก็จะเห็นว่าสลิปจะมีการเขียนว่า ภาษีหัก ณ ที่จ่ายเป็นเท่าไหร่ ดังนั้นถ้าคิดย้อนกลับก็จะรู้เงินเดือนของพนักงานคนนั้นทันที

และถ้ามีการแยก Database แยกหมวดหมู่นิติบุคคลดีๆ เราก็จะทราบจากฐานข้อมูลว่าภาษีหัก ณ ทีจ่ายของพนักงานในองค์กรนั้นๆสูงสุดกับต่ำสุดเป็นเท่าใด
แล้วก็คิดย้อนกลับ เราก็จะตรวจสอบได้ครับ

จริงๆ ผมอยากได้กฎหมายนี้มากกว่าไปเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำเสียอีก ผลกระทบน้อยกว่า เพราะ Budget เดิมมันตั้งกรอบ % ไว้อยู่แล้ว ไม่ได้กระทบใคร นอกจากตัวบริษัทเอกชนเองต้องเป็นคนปรับให้เข้ากับที่รัฐควบคุมจำนวน x เท่า ก็เท่านั้นเอง
ที่นี่ประเทศไทยครับบอกเลยว่าวิธีนี้ไช้ไม่ได้ครับเช่นนายกเงินเดือนเจ็ดหมื่นแปลว่าข้าราชการต่ำสุดต้องได้ขั้นต่ำหมื่นนิดๆไช่ไหมครับ มันพอกินที่ไหนครับประเทศนี้พวกระดับสูงเค้าคิดแก้ปัณหามานานแล้วครับ คนระดับล่างๆก็มีแค่เงินเดือนบวกโอที(ถ้ามันจะไห้อะนะ)แค่นั้นส่วนระดับบนๆเงินเดือน+เงินประจำตำแหน่ง+เงินค่าเดินทาง+เงินที่ปรึกษา+เงินค่าวิทยธถานะ เงินของคนระดับบนๆเงินได้มันแยกส่วนจากเงินเดือนนะครับ รวมๆกันก็หลายแสนแต่เงินเดือนไม่กี่หมื่นยิ่งนาย ก. เงินเดือนแค่เจ็ดหมื่นกว่าแต่ตำแหน่งที่เกิน50+ทำไห้มีเงินประจำตำแหน่งหลายล้านซึ่งไม่ไช่เงินเดือน

ออฟไลน์ Black7nos

  • แม่ทัพหมีอาวุโส
  • ****
  • กระทู้: 4,207
  • ถูกใจแล้ว: 3281 ครั้ง
  • ความนิยม: +208/-279
Re: ก็งงกับ มาม่า เงินเดือน 15000
« ตอบกลับ #46 เมื่อ: มิถุนายน 25, 2022, 09:44:48 PM »
[quote/]
ที่นี่ประเทศไทยครับบอกเลยว่าวิธีนี้ไช้ไม่ได้ครับเช่นนายกเงินเดือนเจ็ดหมื่นแปลว่าข้าราชการต่ำสุดต้องได้ขั้นต่ำหมื่นนิดๆไช่ไหมครับ มันพอกินที่ไหนครับประเทศนี้พวกระดับสูงเค้าคิดแก้ปัณหามานานแล้วครับ คนระดับล่างๆก็มีแค่เงินเดือนบวกโอที(ถ้ามันจะไห้อะนะ)แค่นั้นส่วนระดับบนๆเงินเดือน+เงินประจำตำแหน่ง+เงินค่าเดินทาง+เงินที่ปรึกษา+เงินค่าวิทยธถานะ เงินของคนระดับบนๆเงินได้มันแยกส่วนจากเงินเดือนนะครับ รวมๆกันก็หลายแสนแต่เงินเดือนไม่กี่หมื่นยิ่งนาย ก. เงินเดือนแค่เจ็ดหมื่นกว่าแต่ตำแหน่งที่เกิน50+ทำไห้มีเงินประจำตำแหน่งหลายล้านซึ่งไม่ไช่เงินเดือน


หลักการนี้ใช้ในเอกชนครับ เนื่องจากผู้บริหารหลายคนมีรายได้หลายทางอยู่แล้ว เช่น เงินปันผลผู้ถือหุ้น
ซึ่งการที่ผู้บริหารที่ได้รับรายได้จากผู้ถือหุ้นอยู่แล้วนั้นยังมากินเงินส่วนที่เป็น Portion ของเงินเดือนอีก มันจะยิ่งทำให้ช่องว่างระหว่างรายได้เงินรวมยิ่งห่างเข้าไปอีก


ผู้บริหารบริษัทเอกชนไทยเงินเดือนเป็นล้านนะครับ ขณะที่เด็กจบใหม่ยังมีเงินเดือนไม่ถึง 18,000 บาท มันมีช่องว่างระหว่างเงินเดือนมากไปครับ

ส่วนเรื่องราชการ ต่างประเทศที่พัฒนาแล้ว เขาไม่มีรายรับทับซ้อนหลายทางจากแหล่งเดียวกัน
ผู้กล้าอาณาจักรกุหลาบ https://goshujin.tk/index.php/topic,15078.0.html
ึคุณพ่อผมถูกเอาเงินจ้างฟาดหัว ผมเลยต้องมาเป็นนักมวยไทยที่ต่างแดน https://goshujin.tk/index.php?topic=32172.msg796105#msg796105
 

ออฟไลน์ nosta

  • แม่ทัพหมีชั้นสูง
  • ***
  • กระทู้: 2,524
  • ถูกใจแล้ว: 1150 ครั้ง
  • ความนิยม: +106/-145
Re: ก็งงกับ มาม่า เงินเดือน 15000
« ตอบกลับ #47 เมื่อ: มิถุนายน 25, 2022, 10:50:10 PM »
จริงๆ พูดถึงเรื่องเงินเดือนขั้นต่ำ  แต่พอขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ ของต่างๆก็จะแพงขึ้น
เนื่องจาก Product Cost = Material + Labour + Equipment + POL + Service


ต่างประเทศจริงๆมันมีวิธีแก้ปัญหาโดยที่ไม่ต้องเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำ แต่มันมีกฎหมายอยู่มาตราหนึ่ง
"ภายในนิติบุคคลหรือองค์กรเดียวกัน เงินเดือนสูงสุดและต่ำสุด ห้ามห่างกันเกิน X เท่า"


ยกตัวอย่างเช่น ประเทศแถบสแกนดิเนเวีย ห้ามห่างกัน 6 เท่า (ส่วนประเทศอื่นจำนวนเท่าก็ต่างกันไปตามกฎหมายแต่ละประเทศ)
หมายความว่า เงินเดือนผู้บริหารสูงสุด 360,000 เหรียญ เงินเดือนต่ำสุดของพนักงานเข้าใหม่ก็คือ 360,000/6 = 60,000 เหรียญ


ด้วยวิธีนี้ทำให้ไม่ต้องขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ เนื่องจากการทำงบประมาณรายจ่ายของบริษัทนั้น เขาแบ่ง Budget เป็น % อยู่แล้ว
ตามสูตร Product Cost ซึ่งมันได้เฉลี่ยน้ำหนักเป็น % อยู่แล้ว


วิธีนี้แก้ปัญหาเหลื่่อมล้ำได้ดีที่สุดครับ
กราฟเงินเดือนของไทยมันจะเป็น Hyperbolar อย่างที่ผมเคยอธิบาย เริ่มต้นเงินเดือนเพิ่มน้อย แต่ใกล้เกษียณเงินเดือนจะเพิ่มเยอะ
เนื่องจากเงินเดือนของไทยคิดเพิ่มเป็น % มันจะเหมือนการคิดดอกเบี้ยที่มันจะทบต้นทบดอกไปเรื่อยๆ
(ซึ่งมันขัดต่อธรรมชาติที่ว่ายิ่งอายุมากยิ่งประสิทธิภาพร่างกายถดถอย)


ขณะที่กราฟเงินเดือนต่างประเทศที่พัฒนาแล้วมันจะเป็นกราฟเส้นตรงที่ Y = AX + B โดย B = เงินเดือนสูงสุด/จำนวนเท่า
ดังนั้นการคิดเงินเดือนของไทยมันจะยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำด้วยกลไกการทบต้นทบดอก แต่เริ่มต้นแย่
ขณะที่ต่างประเทศนั้นดีกว่าตรงเงินเดือนเริ่มต้นมันสูง แต่ขณะที่ Budget รายจ่ายยังคงเท่าเดิม โดยไม่ต้องเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำ

ส่วนคนไหนงงว่าจะตรวจสอบบริษัทเอกชนอย่างไรว่าทำตามข้อกำหนดควบคุมไม่ให้เงินเดือนสูงสุดกับต่ำสุดเกิน x เท่าจริงๆ รัฐจะเช็คได้อย่างไร
คำตอบคือเช็คจากภาษีหัก ณ ที่จ่ายของเงินเดือน(Withholding Tax) เนื่องจากบริษัทหรือนิติบุคคลมีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายนำส่งรัฐก่อนที่จะจ่ายเงินเดือนพนักงานอยู่แล้ว
ถ้าใครอ่านสลิปเงินเดือนก็จะเห็นว่าสลิปจะมีการเขียนว่า ภาษีหัก ณ ที่จ่ายเป็นเท่าไหร่ ดังนั้นถ้าคิดย้อนกลับก็จะรู้เงินเดือนของพนักงานคนนั้นทันที

และถ้ามีการแยก Database แยกหมวดหมู่นิติบุคคลดีๆ เราก็จะทราบจากฐานข้อมูลว่าภาษีหัก ณ ทีจ่ายของพนักงานในองค์กรนั้นๆสูงสุดกับต่ำสุดเป็นเท่าใด
แล้วก็คิดย้อนกลับ เราก็จะตรวจสอบได้ครับ

จริงๆ ผมอยากได้กฎหมายนี้มากกว่าไปเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำเสียอีก ผลกระทบน้อยกว่า เพราะ Budget เดิมมันตั้งกรอบ % ไว้อยู่แล้ว ไม่ได้กระทบใคร นอกจากตัวบริษัทเอกชนเองต้องเป็นคนปรับให้เข้ากับที่รัฐควบคุมจำนวน x เท่า ก็เท่านั้นเอง


แต่มันจะมีปัญหาคือบริษัทใหญ่ๆจะไม่สามารถจ้างคนเก่งๆไปบริหารได้ ต้องจ่ายถูกๆ นักบริหารที่เก่งก็จะย้ายไปทำต่างชาติ ซึ่งมันกระทบกับเศรษฐกิจ  จริงๆค่าแรงขั้นต่ำต่อให้ไม่มีถ้ากลไกตลาดมัน บังคับ ผู้บริหารก็ต้องยอมจ่ายค่าจ้างสูงๆอยู่ดี เช่นสิงคโปร์ไม่มีค่าแรงขั้นต่ำ หรือขั้นต่ำคือศุนย์ แต่ค่าจ้างแรงงานดีกว่าไทยมาก เพราะเศรษฐกิจ รายได้ต่อหัวเค้าดี มันก็ดึงค่าจ้างแรงงานไปด้วย การอัดขั้นต่ำมากๆก็ทำให้ บ ที่พึ่งแรงงานเจ๊งได้


ส่วนไทยที่มีปัญหาเหลื่อมล้ำคือเหลื่อมล้ำในการถือสินทรัพย์ซึ่งคนละเรื่องกับความเหลื่อมล้ำของรายได้ การเหลื่อมล้ำของรายได้ไทยอยู่ระดับปานกลาง การแก้ปัญหามันต้องทำคนละอย่างกัน คือต้องสอนในหลักสูตรบังคับเรื่องการออมเงินและลงทุน และรับบาลควรออกกองทุนยามเกษียณโดยให้บริษัทจ่ายตามสัดส่วนเงินเดือน พนง ก็เท่ากับบังคับให้คนออมเงินแบบสิงคโปร์
 

ออฟไลน์ Rumia

  • จอมทัพหมีหนุ่ม
  • *
  • กระทู้: 8,200
  • ถูกใจแล้ว: 3876 ครั้ง
  • ความนิยม: +297/-400
Re: ก็งงกับ มาม่า เงินเดือน 15000
« ตอบกลับ #48 เมื่อ: มิถุนายน 26, 2022, 08:44:03 PM »
[quote/]


หลักการนี้ใช้ในเอกชนครับ เนื่องจากผู้บริหารหลายคนมีรายได้หลายทางอยู่แล้ว เช่น เงินปันผลผู้ถือหุ้น
ซึ่งการที่ผู้บริหารที่ได้รับรายได้จากผู้ถือหุ้นอยู่แล้วนั้นยังมากินเงินส่วนที่เป็น Portion ของเงินเดือนอีก มันจะยิ่งทำให้ช่องว่างระหว่างรายได้เงินรวมยิ่งห่างเข้าไปอีก


ผู้บริหารบริษัทเอกชนไทยเงินเดือนเป็นล้านนะครับ ขณะที่เด็กจบใหม่ยังมีเงินเดือนไม่ถึง 18,000 บาท มันมีช่องว่างระหว่างเงินเดือนมากไปครับ

ส่วนเรื่องราชการ ต่างประเทศที่พัฒนาแล้ว เขาไม่มีรายรับทับซ้อนหลายทางจากแหล่งเดียวกัน
ไช่ครับแต่จะไห้เงินลูกจ้างเท่ากับผู้ถือหุ้นหารหกได้ไงครับสมมุติว่าคุณเป็นฝ่ายบริหารของไมโครซอฟที่มีหุ้นราวๆ10%  เงินเดือนผู้บริหารประมาณแปดหมื่นบวกเงินปันผลจากหุ้นสิบล้านแล้วต้องจ่ายค่าจ้างลูกจ้างประจำเดือนละล้านเหรอครับมันเป็นไปไม่ได้อยู่แล้ว ลูกจ้างไม่ได้มีหุ้นเหมือนกับฝ่ายบริหารนะครับ หุ้นที่ได้เงินปันผลมากขนาดนั้นมันต้องไช้เงินเท่าไหร่ซื้อครับดังนั้นเราจึงเอาฐานเงินอื่นมาคิดกับเงินเดือนไม่ได้ แต่ที่นี่ประเทศไทยครับการสร้างตำแหน่งลอยๆรับเงินส่วยเลี่ยงภาษีทำกันเป็นเรื่องปกติครับ

ออฟไลน์ Black7nos

  • แม่ทัพหมีอาวุโส
  • ****
  • กระทู้: 4,207
  • ถูกใจแล้ว: 3281 ครั้ง
  • ความนิยม: +208/-279
Re: ก็งงกับ มาม่า เงินเดือน 15000
« ตอบกลับ #49 เมื่อ: มิถุนายน 27, 2022, 09:12:00 AM »
[quote/]
ไช่ครับแต่จะไห้เงินลูกจ้างเท่ากับผู้ถือหุ้นหารหกได้ไงครับสมมุติว่าคุณเป็นฝ่ายบริหารของไมโครซอฟที่มีหุ้นราวๆ10%  เงินเดือนผู้บริหารประมาณแปดหมื่นบวกเงินปันผลจากหุ้นสิบล้านแล้วต้องจ่ายค่าจ้างลูกจ้างประจำเดือนละล้านเหรอครับมันเป็นไปไม่ได้อยู่แล้ว ลูกจ้างไม่ได้มีหุ้นเหมือนกับฝ่ายบริหารนะครับ หุ้นที่ได้เงินปันผลมากขนาดนั้นมันต้องไช้เงินเท่าไหร่ซื้อครับดังนั้นเราจึงเอาฐานเงินอื่นมาคิดกับเงินเดือนไม่ได้ แต่ที่นี่ประเทศไทยครับการสร้างตำแหน่งลอยๆรับเงินส่วยเลี่ยงภาษีทำกันเป็นเรื่องปกติครับ


คุณต้องเข้าใจก่อนว่าผู้บริหารที่เป็นผู้ถือหุ้นนั้นไม่ได้กินเงินทางเดียวนะครับ
- เงินปันผล
- เงินเดือน
- ฯลฯ


ขณะที่พนักงานอย่างมาก
- เงินเดือน
- ค่าวิชาชีพ


รายจ่ายต่างๆของบริษัทหรือนิติบุคคลมันแบ่งมาเป็นสัดส่วนอยู่แล้ว แต่การที่ผู้บริหารใส่ตัวเลขเงินเดือนตัวเองมากๆ ทั้งที่ตัวเองมีเงินปันผลอยู่แล้วมันจึงเป็นการกินเงินสองต่อไง มันถึงไม่แฟร์ครับ


เวลาเขาแบ่งเงินงบประมาณรายจ่ายของบริษัทจะแบ่งแบบนี้ครับ
Direct Cost (ต้นทุนทางตรง หรือ ต้นทุนอันก่อให้เกิดผลผลิต)
- ค่าวัสดุ
- ค่าแรงเงินเดือน(พนักงาน)
- ค่าเครื่องจักร
- ค่า POL เชื้อเพลิง น้ำมันและน้ำมันเครื่อง
- ค่าบริการอื่นๆ
Indirect Cost (ต้นทุนทางอ้อม)
- เงินเดือนผู้บริหารและเงินเดือนพนักงานออฟฟิศ(ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการผลิตโดยตรง)
- ค่าสำนักงาน
- Overhead
- Profit


พอมันมีการแบ่งหมวดหมู่แล้ว มันก็ควรจำกัดในหมวดหมู่ ไม่ใช่ไปเพิ่มเงินเดือนผู้บริหารซึ่งไม่ได้เกี่ยวข้องกับการผลิตโดยตรง เนื่องจากผู้บริหารส่วนมากถือหุ้นอยู่แล้ว เขาได้ปันผลจากหุ้นในส่วนของ Profit ในรูปแบบเงินปันผล(Dividend) ไปแล้ว จะให้เขาได้สองต่อเยอะๆ มันก็ไม่แฟร์


สิ่งที่ผมกำลังจะสื่อคือ
- เงินเดือนพนักงานส่วน Direct ไม่ควรกดให้ต่ำ เพราะมันเกี่ยวกับการผลิต Production โดยตรง
- เงินเดือนผู้บริหารส่วน Indirect ควรกดให้ต่ำ เพราะเขาได้เงินปันผลไปแล้ว
ผู้กล้าอาณาจักรกุหลาบ https://goshujin.tk/index.php/topic,15078.0.html
ึคุณพ่อผมถูกเอาเงินจ้างฟาดหัว ผมเลยต้องมาเป็นนักมวยไทยที่ต่างแดน https://goshujin.tk/index.php?topic=32172.msg796105#msg796105
 

ออฟไลน์ deaddy

  • จอมทัพหมีหนุ่ม
  • *
  • กระทู้: 7,614
  • ถูกใจแล้ว: 2808 ครั้ง
  • ความนิยม: +186/-185
Re: ก็งงกับ มาม่า เงินเดือน 15000
« ตอบกลับ #50 เมื่อ: มิถุนายน 27, 2022, 05:18:40 PM »
[quote/]


จริงๆ ในกีฬาเองก็มีกฎที่เรียกว่า FFP หรือ Financial Fair Play อยู่ครับ
ยกตัวอย่าง
ฟุตบอล จะมี FFP คือ ห้ามรายจ่ายของเงินเดือนหลังรวมภาษีเงินได้และภาษี Luxury เกิน 70% ของรายได้ของนิติบุคคลพึงประเมิน
พูดง่ายๆ ก็คือมันมีการสร้างกรอบ Maximum Cap เอาไว้นั่นเอง


บาสเกตบอล NBA เองก็มี Maximum Cap เงินเดือนรวมกันอยู่ที่ 112.4 ล้านเหรียญดอลลาห์หลังรวมภาษีเงินได้และภาษี Luxury
อเมริกันฟุตบอล ก็มี Maximum Cap ของเงินเดือนรวมกันอยู่ที่ 208.2 ล้านเหรียญดอลลาห์หลังรวมภาษีเงินได้และภาษี Luxury
นอกจากนี้ยังมีกฎ Space Cap คือห้ามเงินเดือนมากที่สุดห่างจากน้อยที่สุดเท่าไหร่


จะเห็นได้ว่าจริงๆแล้วชาวตะวันตกนั้นคุ้นชินกับเรื่องการตั้งกรอบ Budget เงินเดือนรวมของแรงงานมาตั้งนานแล้วครับ เพียงแต่บ้านเราไม่เคยพูดถึงกันก็เท่านั้นเอง


[quote/]


จริงๆต่อให้แยกเงินเดือนเป็น Basis+Position+Specialist มันก็คิดแบบต่างประเทศ จริงๆ ต่างประเทศมันก็ Breakdown แยกนะครับ แต่พอรวมกันแล้วมันห้ามเกินก็เท่านั้นเองครับ
ปัญหาที่เงินเดือนมันเกิน X เท่า มันเกิดจากการที่เราประเมินเงินเดือนเพิ่ม เราไปเพิ่มแบบ % ทบต้นทบตอก มันก็ยิ่งทวีคูณ เหลื่อมล้ำมากขึ้นเรื่อยๆ


แต่โดยทั่วไปสากลตะวันตกมันจะคิดแบบนี้กันครับ ยกตัวอย่าง
เงินเดือนเด็กใหม่ = Basis + Position + Specialist = 60,000 + 0 + 0 = 60,000 บาท
เงินเดือนผู้บริหาร = 60,000 + 250,000 + 50,000 = 360,000 บาท


จะเห็นได้ว่า Basis หรือค่าแรงขั้นต่ำ ไม่ว่าเด็กใหม่กับผู้บริหารยังคงเท่ากัน เพราะถ้าไปคูณช่อง Basis มันอาจจะทวีคูณจนเกิน Cap
สิ่งที่เพิ่มจะไปลงช่อง Postion หรือ Experience กับ Specialist แทน ซึ่งตรงนี้เราสามารถ Lock Maximum Cap ได้ครับ เพราะเราสามารถกำหนดให้เหมาะสม
ถ้าแบ่งแบบนี้ยังไงก็จะสามารถ Control Cap ของ Maximum กับ Minimum ของเงินเดือนในบริษัทเดียวกันได้


แต่ค่าจ้างในวงการกีฬาก็ต่างกันแบบหลักร้อยเท่าอยู่ดี
ขนาดระดับทีมชุดใหญ่เหมือนกันยังต่างหลักสิบเท่าได้เลย


ส่วนค่าจ้างอื่นๆก็จ้าง บ.อื่นๆมารับงานก็จบ


เช่น คนงานทำความสะอาด ก็จ้างผ่าน บ.ตัวแทน
ถ้าโครงสร้างค่าแรงขั้นต่ำใน บ.คือ 1 แสนต่อเดือน
ก็จ้างเหมาค่าแรงผ่าน บ.ทำความสะอาด ตก 15000 บาทต่อหัว
พนง.ทำความสะอาดอาจจะได้ 12000 บ.นายหน้าได้ไปซัก 2000 อึกพันเป็นค่าของ


แยกงบออกหลายๆ บ. ก็จบ
ตัดจ้างๆ บ.ลูกๆ


--------
ส่วนพวก ผู้บริหาร ค่าแรงสูงๆ แต่ไม่ถือหุ้นให้ระวัง
แม่ม บ.ชิบหาย มันชิบหายด้วยไหมก็ไม่


เจอมาแล้ว บ.มูลค่าหุ้นไม่เหลือเพราะผู้บริหารตั้งใจกอบโกยแบบไม่รับความเสี่ยง

 

ออฟไลน์ Rumia

  • จอมทัพหมีหนุ่ม
  • *
  • กระทู้: 8,200
  • ถูกใจแล้ว: 3876 ครั้ง
  • ความนิยม: +297/-400
Re: ก็งงกับ มาม่า เงินเดือน 15000
« ตอบกลับ #51 เมื่อ: มิถุนายน 27, 2022, 06:07:46 PM »
[quote/]


คุณต้องเข้าใจก่อนว่าผู้บริหารที่เป็นผู้ถือหุ้นนั้นไม่ได้กินเงินทางเดียวนะครับ
- เงินปันผล
- เงินเดือน
- ฯลฯ


ขณะที่พนักงานอย่างมาก
- เงินเดือน
- ค่าวิชาชีพ


รายจ่ายต่างๆของบริษัทหรือนิติบุคคลมันแบ่งมาเป็นสัดส่วนอยู่แล้ว แต่การที่ผู้บริหารใส่ตัวเลขเงินเดือนตัวเองมากๆ ทั้งที่ตัวเองมีเงินปันผลอยู่แล้วมันจึงเป็นการกินเงินสองต่อไง มันถึงไม่แฟร์ครับ


เวลาเขาแบ่งเงินงบประมาณรายจ่ายของบริษัทจะแบ่งแบบนี้ครับ
Direct Cost (ต้นทุนทางตรง หรือ ต้นทุนอันก่อให้เกิดผลผลิต)
- ค่าวัสดุ
- ค่าแรงเงินเดือน(พนักงาน)
- ค่าเครื่องจักร
- ค่า POL เชื้อเพลิง น้ำมันและน้ำมันเครื่อง
- ค่าบริการอื่นๆ
Indirect Cost (ต้นทุนทางอ้อม)
- เงินเดือนผู้บริหารและเงินเดือนพนักงานออฟฟิศ(ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการผลิตโดยตรง)
- ค่าสำนักงาน
- Overhead
- Profit


พอมันมีการแบ่งหมวดหมู่แล้ว มันก็ควรจำกัดในหมวดหมู่ ไม่ใช่ไปเพิ่มเงินเดือนผู้บริหารซึ่งไม่ได้เกี่ยวข้องกับการผลิตโดยตรง เนื่องจากผู้บริหารส่วนมากถือหุ้นอยู่แล้ว เขาได้ปันผลจากหุ้นในส่วนของ Profit ในรูปแบบเงินปันผล(Dividend) ไปแล้ว จะให้เขาได้สองต่อเยอะๆ มันก็ไม่แฟร์


สิ่งที่ผมกำลังจะสื่อคือ
- เงินเดือนพนักงานส่วน Direct ไม่ควรกดให้ต่ำ เพราะมันเกี่ยวกับการผลิต Production โดยตรง
- เงินเดือนผู้บริหารส่วน Indirect ควรกดให้ต่ำ เพราะเขาได้เงินปันผลไปแล้ว
คือมันทำแบบที่ท่านว่าไม่ได้ไงครับเพราะไม่ไช่ผู้บริหารทุกคนจะมีหุ้นไห้ปันผลสมมุติคุณเป็นหัวหน้าฝ่ายวางแผน ของการไฟฟ้าสาขาลำพูนซึ่งไม่มีหุ้นแม้แต่ตัวเดียวแต่คุณคือผู้บริหารระดับสูงคุณอยากได้เงินเดือนต่ำๆไหมละ และสมมุติผมนังตำแหน่งเดียวกันเป็นผู้บริหารการไฟฟ้าสาขาเชียงใหม่แต่ผมถือหุ้น3%ของการไฟฟ้าคุณยอมเงินเดือนต่ำเท่าผมได้ไหม ผมบอกเลยคนลงทุนไม่ได้มีความผิดอะไรที่เค้าจะได้เงินปันผลในเงินลงทุนของเขา เพราะเขาไช้เงินตัวเองซื้อหุ้นที่ว่านั้นมาพวกนี้แต่เดิมไม่ได้มีหุ้นในบ.ที่ตัวเองอยู่ แต่ด้วยความที่ตัวเองบริหารองค์กรมาทำไห้มันใจที่จะลงทุนกับองค์กรที่ตัวเองอยู่เลยลงทุนซื้อหุ้น ในเมื่อทำงานเท่ากันเพิ่มเติมคือควักเงินตัวเองลงทุนทำใมถึงต้องยอมได้เงินเดือนต่ำลง ในที่ท่านว่ามันไช้ได้กับแค่เจ้าของกิจการและญาติๆครับ แต่นะครับถ้าไม่ไห้เงินเดือนตัวเองมันจะมีเรื่องยุ่งยากในการไช้เงินแบบบัดสบสุดๆ เพราะทุกการไช้เงินของบ.แม้เราจะเป็นเจ้าของจะต้องแจงรายรับรายจ่ายทุกเม็ดไม่เว้นแต่ซื้อลูกอมก็ต้องขอบิล มารวมไว้เป็นค่าไช้จ่ายของบ.การไห้เงินเดือนตัวเองมันตัดความยุ่งยากตรงนี้ไปได้ครับ จริงๆต่อไห้ได้รับหุ้นบ.หรือตำแหน่งพิเศษเนื่องจากการทำงานก็ไม่ควรลดเงินเดือนครับ ผมยกตัวอย่างวงการเกมหรืออนิเมะง่ายๆนะครับคุณมีตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายการผลิตปกติมีหน้าที่ ดำเนินการควบคุมการขายเกมต่างๆไห้บ.อื่นๆที่นี้มีงานไห้ตำแหน่งที่คุณต้องทำเพิ่มเช่นคุณต้องทำเกมออกมาขายเช่นสกายริม คุณไม่ต้องการเงินเพิ่มจากตำแหน่งหัวหน้าเหรอครับยิ่งเกมขายดีมากๆจนได้หุ้นบ.คุณยอมไม่รับเงินเดือนหรือได้รับน้อยลงเหรอ ไอ้ที่คุณว่ามาผมเห็นด้วยกับถ้าเป็นพวกเอาชื่อมาไส่เอาเงินเฉยๆ แต่ถ้าคุณทำเงินไห้บ.ระดับแสนล้านได้คุณไม่ควรได้หุ้นหรือเงินจากตำแหน่งเพิ่มเติมเหรอ ผมยกตัวอย่างคุณท็อดที่ทำเอลเดอร์สกอร์สามภาคหลังมาเพราะทีมงานตัวเล็กๆมันทีมงานเดิม ทำมาสามภาคก็ยังไม่ได้เงินเท่าไหร่สมควรได้เงินเท่ากับคุณทอสที่กับกับภาคหลังๆ แล้วบ.เติบโต1000%เหรอพวกนั้นสมควรได้เงิน10%ของเงินเดือน ที่บ.ไห้คุณท็อดเหรอ
ปล.เอาตามตรงนะผมว่าเงินเดือนนะมันสมควรได้ตามงานที่คุณทำได้มากกว่าผมไม่คิดว่าพนักงานถ่ายเอกสาร ในบ.ขนาดใหณ่สมควรได้เงินเท่าผู้บริหารที่ทำเงินไห้บ.ได้ปีละแสนล้านหรอกครับต่อไห้แค่10%ก็ไม่ควรได้ และคนที่ทำงานไห้บ.ได้เงินเยอะขนาดนั้นทำใมถึงไม่สมควรได้เงินจากผลงานของตัวเอง
ปล.2ฐานเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งผมไม่เห็นด้วยกับการเอามารวมกันแล้วคิดเป็นสัดส่วนแล้วทำเป็นฐานไห้เงินเดือนทุกคนในองค์กร อย่างที่ผมบอกถ้าสมมุติผู้บริหารงานๆหนึ่งทำงานที่ตัวเองได้รับ สำเหร็จเอามากๆได้เงินเข้าองค์กรเยอะมากแล้วแผนกอื่นเกี่ยวอะไรด้วยทำใมต้องหารเงิน ส่วนการปันเงินผมว่าควรไห้ตามผลงานที่ทำมากกว่าการจัดสัดส่วน
ปล.3และสิ่งที่ผมเห็นว่าควรทำคือความรับผิดชอบต่อตำแหน่งที่ได้รับมาครับในเมื่อได้รับเงินเพิ่มจากตำแหน่ง และถ้าสำเหร็จก็ยังได้เพิ่มอีกแต่ถ้าล้มเหลวดันไม่ต้องรับผิดชอบอะไรนี่ต่างหากคือสิ่งที่แย่จริงๆของเมืองไทยครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มิถุนายน 27, 2022, 06:19:55 PM โดย Rumia »
 

ออฟไลน์ Black7nos

  • แม่ทัพหมีอาวุโส
  • ****
  • กระทู้: 4,207
  • ถูกใจแล้ว: 3281 ครั้ง
  • ความนิยม: +208/-279
Re: ก็งงกับ มาม่า เงินเดือน 15000
« ตอบกลับ #52 เมื่อ: กรกฎาคม 01, 2022, 02:05:27 PM »
[quote/]
คือมันทำแบบที่ท่านว่าไม่ได้ไงครับเพราะไม่ไช่ผู้บริหารทุกคนจะมีหุ้นไห้ปันผลสมมุติคุณเป็นหัวหน้าฝ่ายวางแผน ของการไฟฟ้าสาขาลำพูนซึ่งไม่มีหุ้นแม้แต่ตัวเดียวแต่คุณคือผู้บริหารระดับสูงคุณอยากได้เงินเดือนต่ำๆไหมละ และสมมุติผมนังตำแหน่งเดียวกันเป็นผู้บริหารการไฟฟ้าสาขาเชียงใหม่แต่ผมถือหุ้น3%ของการไฟฟ้าคุณยอมเงินเดือนต่ำเท่าผมได้ไหม ผมบอกเลยคนลงทุนไม่ได้มีความผิดอะไรที่เค้าจะได้เงินปันผลในเงินลงทุนของเขา เพราะเขาไช้เงินตัวเองซื้อหุ้นที่ว่านั้นมาพวกนี้แต่เดิมไม่ได้มีหุ้นในบ.ที่ตัวเองอยู่ แต่ด้วยความที่ตัวเองบริหารองค์กรมาทำไห้มันใจที่จะลงทุนกับองค์กรที่ตัวเองอยู่เลยลงทุนซื้อหุ้น ในเมื่อทำงานเท่ากันเพิ่มเติมคือควักเงินตัวเองลงทุนทำใมถึงต้องยอมได้เงินเดือนต่ำลง ในที่ท่านว่ามันไช้ได้กับแค่เจ้าของกิจการและญาติๆครับ แต่นะครับถ้าไม่ไห้เงินเดือนตัวเองมันจะมีเรื่องยุ่งยากในการไช้เงินแบบบัดสบสุดๆ เพราะทุกการไช้เงินของบ.แม้เราจะเป็นเจ้าของจะต้องแจงรายรับรายจ่ายทุกเม็ดไม่เว้นแต่ซื้อลูกอมก็ต้องขอบิล มารวมไว้เป็นค่าไช้จ่ายของบ.การไห้เงินเดือนตัวเองมันตัดความยุ่งยากตรงนี้ไปได้ครับ จริงๆต่อไห้ได้รับหุ้นบ.หรือตำแหน่งพิเศษเนื่องจากการทำงานก็ไม่ควรลดเงินเดือนครับ ผมยกตัวอย่างวงการเกมหรืออนิเมะง่ายๆนะครับคุณมีตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายการผลิตปกติมีหน้าที่ ดำเนินการควบคุมการขายเกมต่างๆไห้บ.อื่นๆที่นี้มีงานไห้ตำแหน่งที่คุณต้องทำเพิ่มเช่นคุณต้องทำเกมออกมาขายเช่นสกายริม คุณไม่ต้องการเงินเพิ่มจากตำแหน่งหัวหน้าเหรอครับยิ่งเกมขายดีมากๆจนได้หุ้นบ.คุณยอมไม่รับเงินเดือนหรือได้รับน้อยลงเหรอ ไอ้ที่คุณว่ามาผมเห็นด้วยกับถ้าเป็นพวกเอาชื่อมาไส่เอาเงินเฉยๆ แต่ถ้าคุณทำเงินไห้บ.ระดับแสนล้านได้คุณไม่ควรได้หุ้นหรือเงินจากตำแหน่งเพิ่มเติมเหรอ ผมยกตัวอย่างคุณท็อดที่ทำเอลเดอร์สกอร์สามภาคหลังมาเพราะทีมงานตัวเล็กๆมันทีมงานเดิม ทำมาสามภาคก็ยังไม่ได้เงินเท่าไหร่สมควรได้เงินเท่ากับคุณทอสที่กับกับภาคหลังๆ แล้วบ.เติบโต1000%เหรอพวกนั้นสมควรได้เงิน10%ของเงินเดือน ที่บ.ไห้คุณท็อดเหรอ
ปล.เอาตามตรงนะผมว่าเงินเดือนนะมันสมควรได้ตามงานที่คุณทำได้มากกว่าผมไม่คิดว่าพนักงานถ่ายเอกสาร ในบ.ขนาดใหณ่สมควรได้เงินเท่าผู้บริหารที่ทำเงินไห้บ.ได้ปีละแสนล้านหรอกครับต่อไห้แค่10%ก็ไม่ควรได้ และคนที่ทำงานไห้บ.ได้เงินเยอะขนาดนั้นทำใมถึงไม่สมควรได้เงินจากผลงานของตัวเอง
ปล.2ฐานเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งผมไม่เห็นด้วยกับการเอามารวมกันแล้วคิดเป็นสัดส่วนแล้วทำเป็นฐานไห้เงินเดือนทุกคนในองค์กร อย่างที่ผมบอกถ้าสมมุติผู้บริหารงานๆหนึ่งทำงานที่ตัวเองได้รับ สำเหร็จเอามากๆได้เงินเข้าองค์กรเยอะมากแล้วแผนกอื่นเกี่ยวอะไรด้วยทำใมต้องหารเงิน ส่วนการปันเงินผมว่าควรไห้ตามผลงานที่ทำมากกว่าการจัดสัดส่วน
ปล.3และสิ่งที่ผมเห็นว่าควรทำคือความรับผิดชอบต่อตำแหน่งที่ได้รับมาครับในเมื่อได้รับเงินเพิ่มจากตำแหน่ง และถ้าสำเหร็จก็ยังได้เพิ่มอีกแต่ถ้าล้มเหลวดันไม่ต้องรับผิดชอบอะไรนี่ต่างหากคือสิ่งที่แย่จริงๆของเมืองไทยครับ


มันทำได้ครับ ไม่ใช่ว่ามันทำไม่ได้ แค่ไม่ทำเสียมากกว่า ในขนาดเศรษฐกิจที่เท่ากันสวีเดนกับไทย ทำไมสวีเดนถึงทำได้ แต่ไทยทำไม่ได้
ไม่ใช่เพราะ คนตำแหน่งสูงๆ เอาเปรียบคนทำงานฝ่าย Production เหรอครับ?


ผู้บริหารระดับกรรมการบริษัท ยังไงก็ต้องเป็นผู้ถือหุ้นส่วนหนึ่งอยู่แล้วครับ แล้วคุณจะมากินส่วนของเงินเดือนพนักงานเยอะๆ อีกทอดเหรอครับ
อย่างนี้มันไม่แฟร์กับพนักงานฝ่าย Production ที่มันเป็น Direct Cost โดยตรงครับ


เอาอย่างนี้คุณทราบมั้ยครับว่าสัดส่วนของ Direct Cost กับ Indirect Cost ของไทยกับต่างประเทศเป็นอย่างไร


เอาในวงการก่อสร้างเลยละกันครับ บริษัท ITD, Sino-Thai
Direct Cost 65%
Indirect Cost 35%


ขณะที่บริษัทก่อสร้างต่างประเทศ เช่น ITD Cementation(India) ฯลฯ
Direct Cost 80%
Indirect Cost 20%


ถ้าเป็นบริษัทจีน เช่น Sino-Hydro
Direct Cost 85%
Indirect Cost 15%


นี่แสดงให้เห็นว่าฝ่ายบริหารของไทยกินเงินเดือนเอาเปรียบครับ มันเลยทำให้สัดส่วน Indirect Cost สูงตาม


มันจึงเป็นเหตุผลไงครับว่าทำไมบริษัทในไทยจะไป go inter ถึงได้ล้มเหลว นั่นเพราะมันแบกส่วน Indirect Cost มันเยอะ
เวลาไป Bidding กับบริษัทอื่นในต่างประเทศมันถึงไม่ได้งาน หรือไม่ ก็ต้องตัดราคาให้ตัวเองขาดทุน
ขณะที่ Direct Cost ทุกๆบริษัทแม้ % มันจะไม่เท่า แต่ในทางตัวเลขสกุลเงิน ไม่ว่าจะสกุล บาทหรือ USD มันจะเท่าๆกัน เพราะเมื่อทำงานประเทศไหนคุณก็ต้องสั่งวัสดุ Material โดยผ่านกฎหมายภาษีของประเทศนั้น ค่าแรงของคนประเทศนั้น เครื่องจักรประเภทเดียวกัน นำเข้าก็รับภาษีเท่าๆกัน ราคาน้ำมันในประเทศที่ไปก่อสร้างก็เท่าๆกัน


ดังนั้นแล้วแต่ละบริษัทในวงการก่อสร้าง จะแข่งกันที่ Indirect Cost ไงครับ ใคร Indirect Cost น้อยก็ชนะ ใคร Indirect Cost เยอะก็แพ้ไป

ผมถึงบอกว่าการปรับสัดส่วนเงินเดือนฝ่ายบริหารให้ลดลงนั้นดีต่อความเหลื่อมล้ำ
แถมยังช่วยทำให้ตัวบริษัทเองนี่แหละ ชนะการ Bidding งานได้ง่ายขึ้น


ส่วนหนึ่งเพราะผมทำงานทั้งไทยและต่างประเทศด้าน Cost Engineer ทำให้ผมรู้ตัวเลขสัดส่วนของ Cost ระดับหนึ่ง
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กรกฎาคม 01, 2022, 02:08:18 PM โดย Black7nos »
ผู้กล้าอาณาจักรกุหลาบ https://goshujin.tk/index.php/topic,15078.0.html
ึคุณพ่อผมถูกเอาเงินจ้างฟาดหัว ผมเลยต้องมาเป็นนักมวยไทยที่ต่างแดน https://goshujin.tk/index.php?topic=32172.msg796105#msg796105
 

ออฟไลน์ deaddy

  • จอมทัพหมีหนุ่ม
  • *
  • กระทู้: 7,614
  • ถูกใจแล้ว: 2808 ครั้ง
  • ความนิยม: +186/-185
Re: ก็งงกับ มาม่า เงินเดือน 15000
« ตอบกลับ #53 เมื่อ: กรกฎาคม 01, 2022, 03:19:58 PM »
[quote/]


มันทำได้ครับ ไม่ใช่ว่ามันทำไม่ได้ แค่ไม่ทำเสียมากกว่า ในขนาดเศรษฐกิจที่เท่ากันสวีเดนกับไทย ทำไมสวีเดนถึงทำได้ แต่ไทยทำไม่ได้
ไม่ใช่เพราะ คนตำแหน่งสูงๆ เอาเปรียบคนทำงานฝ่าย Production เหรอครับ?


ผู้บริหารระดับกรรมการบริษัท ยังไงก็ต้องเป็นผู้ถือหุ้นส่วนหนึ่งอยู่แล้วครับ แล้วคุณจะมากินส่วนของเงินเดือนพนักงานเยอะๆ อีกทอดเหรอครับ
อย่างนี้มันไม่แฟร์กับพนักงานฝ่าย Production ที่มันเป็น Direct Cost โดยตรงครับ


เอาอย่างนี้คุณทราบมั้ยครับว่าสัดส่วนของ Direct Cost กับ Indirect Cost ของไทยกับต่างประเทศเป็นอย่างไร


เอาในวงการก่อสร้างเลยละกันครับ บริษัท ITD, Sino-Thai
Direct Cost 65%
Indirect Cost 35%


ขณะที่บริษัทก่อสร้างต่างประเทศ เช่น ITD Cementation(India) ฯลฯ
Direct Cost 80%
Indirect Cost 20%


ถ้าเป็นบริษัทจีน เช่น Sino-Hydro
Direct Cost 85%
Indirect Cost 15%


นี่แสดงให้เห็นว่าฝ่ายบริหารของไทยกินเงินเดือนเอาเปรียบครับ มันเลยทำให้สัดส่วน Indirect Cost สูงตาม


มันจึงเป็นเหตุผลไงครับว่าทำไมบริษัทในไทยจะไป go inter ถึงได้ล้มเหลว นั่นเพราะมันแบกส่วน Indirect Cost มันเยอะ
เวลาไป Bidding กับบริษัทอื่นในต่างประเทศมันถึงไม่ได้งาน หรือไม่ ก็ต้องตัดราคาให้ตัวเองขาดทุน
ขณะที่ Direct Cost ทุกๆบริษัทแม้ % มันจะไม่เท่า แต่ในทางตัวเลขสกุลเงิน ไม่ว่าจะสกุล บาทหรือ USD มันจะเท่าๆกัน เพราะเมื่อทำงานประเทศไหนคุณก็ต้องสั่งวัสดุ Material โดยผ่านกฎหมายภาษีของประเทศนั้น ค่าแรงของคนประเทศนั้น เครื่องจักรประเภทเดียวกัน นำเข้าก็รับภาษีเท่าๆกัน ราคาน้ำมันในประเทศที่ไปก่อสร้างก็เท่าๆกัน


ดังนั้นแล้วแต่ละบริษัทในวงการก่อสร้าง จะแข่งกันที่ Indirect Cost ไงครับ ใคร Indirect Cost น้อยก็ชนะ ใคร Indirect Cost เยอะก็แพ้ไป

ผมถึงบอกว่าการปรับสัดส่วนเงินเดือนฝ่ายบริหารให้ลดลงนั้นดีต่อความเหลื่อมล้ำ
แถมยังช่วยทำให้ตัวบริษัทเองนี่แหละ ชนะการ Bidding งานได้ง่ายขึ้น


ส่วนหนึ่งเพราะผมทำงานทั้งไทยและต่างประเทศด้าน Cost Engineer ทำให้ผมรู้ตัวเลขสัดส่วนของ Cost ระดับหนึ่ง
จริงครับ ผู้บริหารควรรับเงินเล็กน้อยพอ แล้วไปเอาปันผลแทน พวกผู้บริหารที่ไม่มีหุ้นมันจะทึ่มเทพัฒนา บ. ไปทำไม
บ. ขาดทุนเละแค่ไหนก็ช่าง ผู้บริหารที่ไม่ใช่เจ้าของมีแต่จะโกง บ.
 

ออฟไลน์ Black7nos

  • แม่ทัพหมีอาวุโส
  • ****
  • กระทู้: 4,207
  • ถูกใจแล้ว: 3281 ครั้ง
  • ความนิยม: +208/-279
Re: ก็งงกับ มาม่า เงินเดือน 15000
« ตอบกลับ #54 เมื่อ: กรกฎาคม 01, 2022, 03:55:40 PM »
[quote/]
จริงครับ ผู้บริหารควรรับเงินเล็กน้อยพอ แล้วไปเอาปันผลแทน พวกผู้บริหารที่ไม่มีหุ้นมันจะทึ่มเทพัฒนา บ. ไปทำไม
บ. ขาดทุนเละแค่ไหนก็ช่าง ผู้บริหารที่ไม่ใช่เจ้าของมีแต่จะโกง บ.



บริษัทมันมีการให้หุ้นสำหรับคนที่ทำงานกับบริษัทมาอย่างยาวนานจะมีค่า Loyalty เป็นหุ้น
ต่างประเทศเองก็จ่ายโบนัสเป็นหุ้นครับ สุดท้ายก็ได้เงินปันผลจากหุ้นอยู่ดีครับ


ส่วนการพัฒนาบริษัท ผมเห็นต่างออกไปครับ คนที่จะพัฒนาบริษัทมากที่สุดคือผู้พัฒนาผลิตภัณฑ์
นั่นก็คือตกอยู่ในหมวด Direct Cost ของฝ่ายการผลิตอยู่ดีครับ
ดังนั้นเงินต้องเอาไปลง Direct Cost เยอะๆครับ ไม่ใช่เอาไปลง Indirect Cost


สัดส่วน Indirect Cost ต้องให้น้อยๆ เพื่อที่จะมีความสามารถแข่งขันกับบริษัทอื่นได้


นอกจากนี้เงินสำหรับ Indirect Cost นั้น สิ่งที่ควรลงมากที่สุดไม่ใช่ฝ่ายบริหาร
แต่เป็นฝ่ายการตลาดกับฝ่ายขายต่างหากครับ
พวกนี้คือพวกทำกำไรเข้าสู่บริษัทฝ่ายการสร้างลู่ทางการขายใหม่โดยตรง
ขณะที่ฝ่ายบริหารเป็นผู้กำหนดนโยบายภาพรวมไม่ต้องเยอะก็ได้ครับ
ผู้กล้าอาณาจักรกุหลาบ https://goshujin.tk/index.php/topic,15078.0.html
ึคุณพ่อผมถูกเอาเงินจ้างฟาดหัว ผมเลยต้องมาเป็นนักมวยไทยที่ต่างแดน https://goshujin.tk/index.php?topic=32172.msg796105#msg796105
 

ออฟไลน์ Rumia

  • จอมทัพหมีหนุ่ม
  • *
  • กระทู้: 8,200
  • ถูกใจแล้ว: 3876 ครั้ง
  • ความนิยม: +297/-400
Re: ก็งงกับ มาม่า เงินเดือน 15000
« ตอบกลับ #55 เมื่อ: กรกฎาคม 01, 2022, 05:03:48 PM »
[quote/]


มันทำได้ครับ ไม่ใช่ว่ามันทำไม่ได้ แค่ไม่ทำเสียมากกว่า ในขนาดเศรษฐกิจที่เท่ากันสวีเดนกับไทย ทำไมสวีเดนถึงทำได้ แต่ไทยทำไม่ได้
ไม่ใช่เพราะ คนตำแหน่งสูงๆ เอาเปรียบคนทำงานฝ่าย Production เหรอครับ?


ผู้บริหารระดับกรรมการบริษัท ยังไงก็ต้องเป็นผู้ถือหุ้นส่วนหนึ่งอยู่แล้วครับ แล้วคุณจะมากินส่วนของเงินเดือนพนักงานเยอะๆ อีกทอดเหรอครับ
อย่างนี้มันไม่แฟร์กับพนักงานฝ่าย Production ที่มันเป็น Direct Cost โดยตรงครับ


เอาอย่างนี้คุณทราบมั้ยครับว่าสัดส่วนของ Direct Cost กับ Indirect Cost ของไทยกับต่างประเทศเป็นอย่างไร


เอาในวงการก่อสร้างเลยละกันครับ บริษัท ITD, Sino-Thai
Direct Cost 65%
Indirect Cost 35%


ขณะที่บริษัทก่อสร้างต่างประเทศ เช่น ITD Cementation(India) ฯลฯ
Direct Cost 80%
Indirect Cost 20%


ถ้าเป็นบริษัทจีน เช่น Sino-Hydro
Direct Cost 85%
Indirect Cost 15%


นี่แสดงให้เห็นว่าฝ่ายบริหารของไทยกินเงินเดือนเอาเปรียบครับ มันเลยทำให้สัดส่วน Indirect Cost สูงตาม


มันจึงเป็นเหตุผลไงครับว่าทำไมบริษัทในไทยจะไป go inter ถึงได้ล้มเหลว นั่นเพราะมันแบกส่วน Indirect Cost มันเยอะ
เวลาไป Bidding กับบริษัทอื่นในต่างประเทศมันถึงไม่ได้งาน หรือไม่ ก็ต้องตัดราคาให้ตัวเองขาดทุน
ขณะที่ Direct Cost ทุกๆบริษัทแม้ % มันจะไม่เท่า แต่ในทางตัวเลขสกุลเงิน ไม่ว่าจะสกุล บาทหรือ USD มันจะเท่าๆกัน เพราะเมื่อทำงานประเทศไหนคุณก็ต้องสั่งวัสดุ Material โดยผ่านกฎหมายภาษีของประเทศนั้น ค่าแรงของคนประเทศนั้น เครื่องจักรประเภทเดียวกัน นำเข้าก็รับภาษีเท่าๆกัน ราคาน้ำมันในประเทศที่ไปก่อสร้างก็เท่าๆกัน


ดังนั้นแล้วแต่ละบริษัทในวงการก่อสร้าง จะแข่งกันที่ Indirect Cost ไงครับ ใคร Indirect Cost น้อยก็ชนะ ใคร Indirect Cost เยอะก็แพ้ไป

ผมถึงบอกว่าการปรับสัดส่วนเงินเดือนฝ่ายบริหารให้ลดลงนั้นดีต่อความเหลื่อมล้ำ
แถมยังช่วยทำให้ตัวบริษัทเองนี่แหละ ชนะการ Bidding งานได้ง่ายขึ้น


ส่วนหนึ่งเพราะผมทำงานทั้งไทยและต่างประเทศด้าน Cost Engineer ทำให้ผมรู้ตัวเลขสัดส่วนของ Cost ระดับหนึ่ง
[quote/]


มันทำได้ครับ ไม่ใช่ว่ามันทำไม่ได้ แค่ไม่ทำเสียมากกว่า ในขนาดเศรษฐกิจที่เท่ากันสวีเดนกับไทย ทำไมสวีเดนถึงทำได้ แต่ไทยทำไม่ได้
ไม่ใช่เพราะ คนตำแหน่งสูงๆ เอาเปรียบคนทำงานฝ่าย Production เหรอครับ?


ผู้บริหารระดับกรรมการบริษัท ยังไงก็ต้องเป็นผู้ถือหุ้นส่วนหนึ่งอยู่แล้วครับ แล้วคุณจะมากินส่วนของเงินเดือนพนักงานเยอะๆ อีกทอดเหรอครับ
อย่างนี้มันไม่แฟร์กับพนักงานฝ่าย Production ที่มันเป็น Direct Cost โดยตรงครับ


เอาอย่างนี้คุณทราบมั้ยครับว่าสัดส่วนของ Direct Cost กับ Indirect Cost ของไทยกับต่างประเทศเป็นอย่างไร


เอาในวงการก่อสร้างเลยละกันครับ บริษัท ITD, Sino-Thai
Direct Cost 65%
Indirect Cost 35%


ขณะที่บริษัทก่อสร้างต่างประเทศ เช่น ITD Cementation(India) ฯลฯ
Direct Cost 80%
Indirect Cost 20%


ถ้าเป็นบริษัทจีน เช่น Sino-Hydro
Direct Cost 85%
Indirect Cost 15%


นี่แสดงให้เห็นว่าฝ่ายบริหารของไทยกินเงินเดือนเอาเปรียบครับ มันเลยทำให้สัดส่วน Indirect Cost สูงตาม


มันจึงเป็นเหตุผลไงครับว่าทำไมบริษัทในไทยจะไป go inter ถึงได้ล้มเหลว นั่นเพราะมันแบกส่วน Indirect Cost มันเยอะ
เวลาไป Bidding กับบริษัทอื่นในต่างประเทศมันถึงไม่ได้งาน หรือไม่ ก็ต้องตัดราคาให้ตัวเองขาดทุน
ขณะที่ Direct Cost ทุกๆบริษัทแม้ % มันจะไม่เท่า แต่ในทางตัวเลขสกุลเงิน ไม่ว่าจะสกุล บาทหรือ USD มันจะเท่าๆกัน เพราะเมื่อทำงานประเทศไหนคุณก็ต้องสั่งวัสดุ Material โดยผ่านกฎหมายภาษีของประเทศนั้น ค่าแรงของคนประเทศนั้น เครื่องจักรประเภทเดียวกัน นำเข้าก็รับภาษีเท่าๆกัน ราคาน้ำมันในประเทศที่ไปก่อสร้างก็เท่าๆกัน


ดังนั้นแล้วแต่ละบริษัทในวงการก่อสร้าง จะแข่งกันที่ Indirect Cost ไงครับ ใคร Indirect Cost น้อยก็ชนะ ใคร Indirect Cost เยอะก็แพ้ไป

ผมถึงบอกว่าการปรับสัดส่วนเงินเดือนฝ่ายบริหารให้ลดลงนั้นดีต่อความเหลื่อมล้ำ
แถมยังช่วยทำให้ตัวบริษัทเองนี่แหละ ชนะการ Bidding งานได้ง่ายขึ้น


ส่วนหนึ่งเพราะผมทำงานทั้งไทยและต่างประเทศด้าน Cost Engineer ทำให้ผมรู้ตัวเลขสัดส่วนของ Cost ระดับหนึ่ง
ผมบอกความต่างกันชัดๆนะครับข้อแรกผู้บริหารในไทยส่วนมากไม่ได้ถือหุ้นครับไม่ไช่แค่ไทยแต่ทังเอเชีย คนถือหุ้นคือเจ้าของบ.และผู้เกี่ยวข้องครับมีส่วนน้อยที่ผู้บริหารจะได้ถือหุ้นบ.และไอ้ส่วนน้อยที่ถือหุ้นนะ คือควักเงินตัวเองซื้อหุ้นบ.ครับไม่ไช่บ.ปันหุ้นเหมือนยุโรปผมถึงถามว่าถ้าคุณเป็นผู้บริหารบ. และลงทุนซื้อหุ้นในบ.ที่คุณทำงานอยู่สักร้อยล้านจนมีหุ้นในบ.แล้วคุณจะยอมไม่รับเงินเดือนจากการทำงานไหมครับ ความต่างแบบชัดๆของเอเชียและยุโรปคือผู้บริหารยุโรปมีสิทธได้รับโบนัสเป็นหุ้นจากการทำงาน แต่ก่อนงานสำเหร็จจนได้โบนัสก็ต้องกินเงินเดือนปกตินะ ส่วนผู้บริหารในเอเชียคุณไม่มีทางได้รับการปันหุ้นจากเจ้าของไม่ว่าทางใดถ้าไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่นเพื่อนญาติก่อตังมาด้วยกันคุณไม่มีทางได้รับเงินปัณผลเป็นหุ้น นอกจากเงินเพิ่มเติมช่องทางอื่นๆเช่นเงินประจำตำแหน่ง ถ้าคุณจะมีหุ้นในบ.ได้คุณต้องซื้อเองแล้วคุณจะยอมรับได้ไหมถ้าคุณซื้อหุ้นบ.แล้วทำงานไม่รับเงินเดือน
[quote/]
จริงครับ ผู้บริหารควรรับเงินเล็กน้อยพอ แล้วไปเอาปันผลแทน พวกผู้บริหารที่ไม่มีหุ้นมันจะทึ่มเทพัฒนา บ. ไปทำไม
บ. ขาดทุนเละแค่ไหนก็ช่าง ผู้บริหารที่ไม่ใช่เจ้าของมีแต่จะโกง บ.

ที่นี่ประเทศไทยครับไม่มีบ.ไหนไห้หุ้นกับพนักงานไม่ว่าจะระดับสูงแค่ไหนนะครับถ้ามียกตัวอย่างมาสักคน ที่ได้รับโบนัสเป็นหุ้นมันถึงมีเงินประจำตำแหน่งหรืออื่นๆมาทดแทนไงครับ ไม่นับพวกไห้หุ้นเป็นส่วยหรือไห้หุ้นกับผู้บริหารที่เป็นเครือญาติหรือผู้ร่วมก่อตังนะครับ ผมบอกเลยว่าไม่มีใครได้หุ้นจากการทำงานนอกจากเงินโบนัสเท่านั้น ตัวอย่างง่ายๆชัดอย่างบ.เกมเช่นอินาฟูเนะหรือใครหลายๆคนที่สร้างเกมชื่อดัง ไห้บ.ทำเงินมหาศาลคิดว่าทำใมคนเหล่านี้ถึงออกมาตังบ.เองครับเหตุผลง่ายๆ คือพวกเค้าไม่มีส่วนร่วมกับรายได้ของบ.ไงครับเงินที่ได้ก็แค่โบนัสอย่างผู้กับกับเกมแค่นั้น แต่ไม่มีใครมีหุ้นของบ.เลยถ้าไม่ซื้อเอง
สรุปง่ายๆนะครับยุโรปมีแนวคิดที่จะดึงคนเก่งมาร่วมหัวจมท้ายจึงมีการไห้เป็นส่วนหนึ่งของบ.อย่างการไห้หุ้น หมายความว่าคุณเก่งเรายอมรับคุณมาเป็นเจ้าของร่วมกันดีกว่าเจ้าของบ.จึงไห้หุ้นเพื่อดึงคนเก่งเข้ามาร่วมหัวจมท้ายกับบ. ดังนั้นการที่เจ้าของจะไม่รับเงินเดือนเพราะได้รับเงินปันผลจากบ.จึงเป็นเรื่องปกติ ยิ่งทำไห้บ.ได้กำไรมากตัวเองก็ได้เงินมากเพราะตัวเองก็มีส่วนร่วมด้วยนั้นเอง เงินเดือนจึงไม่มีความหมายอะไร แต่ในเอเชียพนักงานคือคนที่ถูกจ้างมาทำงานครับไม่ได้มีแนวคิดจะไห้พนักงาน เข้ามาแบ่งผลกำไรของบ.แต่อย่างใดไม่ว่าตำแหน่งจะสูงแค่ไหนก็แค่ลูกจ้างครับ ไม่มีทางได้ผลกำไรของบ.ดังนั้น จึงได้เเค่เงินเดือนและค่าเหนื่อยอื่นๆเท่านั้น
ปล.2อย่าอ้างว่าหม่ำมีหุ้นร่วมกับปัณญาหุ้นที่หม่ำถือคือตัวทุนของบ.บังไฟที่เอาเข้าไปร่วม ว่าง่ายๆหม่ำตังบ.เองจ่ายเงินเองแล้วไช้บ.ตัวเองไปเข้าร่วม ว่าง่ายๆหม่ำเป็นผู้บริหารได้ไม่ไช่เพราะทำงานจนได้หุ้น แต่ลงเงินสร้างบ.แล้วเอาไปเข้าร่วมแล้วหม่ำมาเล่นตลกออกทีวีไม่ควรได้เงินเดือนเหรอ หม่ำได้เงินเดือนจากการเล่นตลกออกทีวีไห้บ. และได้เงินปันผลจากหุ้นที่ตัวเองเอาเงินเอาบ.ตัวเองไปเข้าร่วม คุณจะบอกว่าหม่ำไม่ควรได้เงินเดือนเหมือนพวกตลกคนอื่นเหรอครับการได้มาของหุ้นในเอเชียต่างจากยุโรปมากครับ ว่าง่ายๆยุโรปไห้หุ้นเพื่อที่จะทำงานไห้ดีแต่เอเชียได้หุ้นจากการดิ้นรน ของตัวเองเช่นซื้อมาด้วยตัวเองดังนั้นการจะไห้ปรับเงินเดือนไห้เหมือนกันไม่มีทางเป็นไปได้ ฝ่ายหนึ่งยกไห้ฟรีๆทำไห้ได้เงินจากการทำงาน ส่วนอีกฝ่ายจ่ายเงินไห้บ.ล่วงหน้ามหาศาลเหมือนการลงทุนซื้อหุ้นปกติแค่ หุ้นที่ตัวเองซื้อคือบ.ที่ตัวเองทำงานถ้าคุณซื้อหุ้นบ.ที่ตัวเองทำงานในตลาดหลักทรัพแล้วเจ้าของบอกคุณว่า คุณได้เงินปันผลจากหุ้นแล้วไม่ต้องเอาเงินเดือนหรอกแต่ทำงานเท่าเดิมนะคุณจะยอมไหม
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กรกฎาคม 01, 2022, 10:53:09 PM โดย Rumia »
 

ออฟไลน์ Black7nos

  • แม่ทัพหมีอาวุโส
  • ****
  • กระทู้: 4,207
  • ถูกใจแล้ว: 3281 ครั้ง
  • ความนิยม: +208/-279
Re: ก็งงกับ มาม่า เงินเดือน 15000
« ตอบกลับ #56 เมื่อ: กรกฎาคม 02, 2022, 11:14:12 AM »
[quote/]
[quote/]
ผมบอกความต่างกันชัดๆนะครับข้อแรกผู้บริหารในไทยส่วนมากไม่ได้ถือหุ้นครับไม่ไช่แค่ไทยแต่ทังเอเชีย คนถือหุ้นคือเจ้าของบ.และผู้เกี่ยวข้องครับมีส่วนน้อยที่ผู้บริหารจะได้ถือหุ้นบ.และไอ้ส่วนน้อยที่ถือหุ้นนะ คือควักเงินตัวเองซื้อหุ้นบ.ครับไม่ไช่บ.ปันหุ้นเหมือนยุโรปผมถึงถามว่าถ้าคุณเป็นผู้บริหารบ. และลงทุนซื้อหุ้นในบ.ที่คุณทำงานอยู่สักร้อยล้านจนมีหุ้นในบ.แล้วคุณจะยอมไม่รับเงินเดือนจากการทำงานไหมครับ ความต่างแบบชัดๆของเอเชียและยุโรปคือผู้บริหารยุโรปมีสิทธได้รับโบนัสเป็นหุ้นจากการทำงาน แต่ก่อนงานสำเหร็จจนได้โบนัสก็ต้องกินเงินเดือนปกตินะ ส่วนผู้บริหารในเอเชียคุณไม่มีทางได้รับการปันหุ้นจากเจ้าของไม่ว่าทางใดถ้าไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่นเพื่อนญาติก่อตังมาด้วยกันคุณไม่มีทางได้รับเงินปัณผลเป็นหุ้น นอกจากเงินเพิ่มเติมช่องทางอื่นๆเช่นเงินประจำตำแหน่ง ถ้าคุณจะมีหุ้นในบ.ได้คุณต้องซื้อเองแล้วคุณจะยอมรับได้ไหมถ้าคุณซื้อหุ้นบ.แล้วทำงานไม่รับเงินเดือน
[quote/]
ที่นี่ประเทศไทยครับไม่มีบ.ไหนไห้หุ้นกับพนักงานไม่ว่าจะระดับสูงแค่ไหนนะครับถ้ามียกตัวอย่างมาสักคน ที่ได้รับโบนัสเป็นหุ้นมันถึงมีเงินประจำตำแหน่งหรืออื่นๆมาทดแทนไงครับ ไม่นับพวกไห้หุ้นเป็นส่วยหรือไห้หุ้นกับผู้บริหารที่เป็นเครือญาติหรือผู้ร่วมก่อตังนะครับ ผมบอกเลยว่าไม่มีใครได้หุ้นจากการทำงานนอกจากเงินโบนัสเท่านั้น ตัวอย่างง่ายๆชัดอย่างบ.เกมเช่นอินาฟูเนะหรือใครหลายๆคนที่สร้างเกมชื่อดัง ไห้บ.ทำเงินมหาศาลคิดว่าทำใมคนเหล่านี้ถึงออกมาตังบ.เองครับเหตุผลง่ายๆ คือพวกเค้าไม่มีส่วนร่วมกับรายได้ของบ.ไงครับเงินที่ได้ก็แค่โบนัสอย่างผู้กับกับเกมแค่นั้น แต่ไม่มีใครมีหุ้นของบ.เลยถ้าไม่ซื้อเอง
สรุปง่ายๆนะครับยุโรปมีแนวคิดที่จะดึงคนเก่งมาร่วมหัวจมท้ายจึงมีการไห้เป็นส่วนหนึ่งของบ.อย่างการไห้หุ้น หมายความว่าคุณเก่งเรายอมรับคุณมาเป็นเจ้าของร่วมกันดีกว่าเจ้าของบ.จึงไห้หุ้นเพื่อดึงคนเก่งเข้ามาร่วมหัวจมท้ายกับบ. ดังนั้นการที่เจ้าของจะไม่รับเงินเดือนเพราะได้รับเงินปันผลจากบ.จึงเป็นเรื่องปกติ ยิ่งทำไห้บ.ได้กำไรมากตัวเองก็ได้เงินมากเพราะตัวเองก็มีส่วนร่วมด้วยนั้นเอง เงินเดือนจึงไม่มีความหมายอะไร แต่ในเอเชียพนักงานคือคนที่ถูกจ้างมาทำงานครับไม่ได้มีแนวคิดจะไห้พนักงาน เข้ามาแบ่งผลกำไรของบ.แต่อย่างใดไม่ว่าตำแหน่งจะสูงแค่ไหนก็แค่ลูกจ้างครับ ไม่มีทางได้ผลกำไรของบ.ดังนั้น จึงได้เเค่เงินเดือนและค่าเหนื่อยอื่นๆเท่านั้น
ปล.2อย่าอ้างว่าหม่ำมีหุ้นร่วมกับปัณญาหุ้นที่หม่ำถือคือตัวทุนของบ.บังไฟที่เอาเข้าไปร่วม ว่าง่ายๆหม่ำตังบ.เองจ่ายเงินเองแล้วไช้บ.ตัวเองไปเข้าร่วม ว่าง่ายๆหม่ำเป็นผู้บริหารได้ไม่ไช่เพราะทำงานจนได้หุ้น แต่ลงเงินสร้างบ.แล้วเอาไปเข้าร่วมแล้วหม่ำมาเล่นตลกออกทีวีไม่ควรได้เงินเดือนเหรอ หม่ำได้เงินเดือนจากการเล่นตลกออกทีวีไห้บ. และได้เงินปันผลจากหุ้นที่ตัวเองเอาเงินเอาบ.ตัวเองไปเข้าร่วม คุณจะบอกว่าหม่ำไม่ควรได้เงินเดือนเหมือนพวกตลกคนอื่นเหรอครับการได้มาของหุ้นในเอเชียต่างจากยุโรปมากครับ ว่าง่ายๆยุโรปไห้หุ้นเพื่อที่จะทำงานไห้ดีแต่เอเชียได้หุ้นจากการดิ้นรน ของตัวเองเช่นซื้อมาด้วยตัวเองดังนั้นการจะไห้ปรับเงินเดือนไห้เหมือนกันไม่มีทางเป็นไปได้ ฝ่ายหนึ่งยกไห้ฟรีๆทำไห้ได้เงินจากการทำงาน ส่วนอีกฝ่ายจ่ายเงินไห้บ.ล่วงหน้ามหาศาลเหมือนการลงทุนซื้อหุ้นปกติแค่ หุ้นที่ตัวเองซื้อคือบ.ที่ตัวเองทำงานถ้าคุณซื้อหุ้นบ.ที่ตัวเองทำงานในตลาดหลักทรัพแล้วเจ้าของบอกคุณว่า คุณได้เงินปันผลจากหุ้นแล้วไม่ต้องเอาเงินเดือนหรอกแต่ทำงานเท่าเดิมนะคุณจะยอมไหม


ผมมองว่าคำอ้างว่า "ก็ที่นี่ประเทศไทย" เป็นคำแก้ตัวที่ไม่ดีนะ มันฟังดูเป็นการปัดปัญหาด้วยความสิ้นหวังและน่าสมเพชมากๆ


ทุกอย่างมันแก้ได้ด้วยการแก้กฎหมายครับ เรามีระบบรัฐสภาอยู่แล้วที่มีกลไกในการออกกฎหมายพรบ.ต่างๆ แต่ปัญหามันขึ้นอยู่กับว่าต้องการจะทำหรือไม่ต่างหากครับ
สิ่งสำคัญมันคือมันต้องเริ่มก้าวแรกก่อนครับ ถ้าไม่เริ่มอะไรเลยมันก็ไม่เปลี่ยนแปลงหรอกครับ ความเหลื่อมล้ำมันก็ไม่ลดลง
ต่างประเทศเองที่มีเศรษฐกิจขนาดเท่ากันเขาทำได้ ดังนั้นมันไม่มีคำว่าทำไม่ได้ มีแต่คำว่าทำหรือไม่ทำเท่านั้นครับ


แล้วจริงๆเองต่างประเทศที่พัฒนาแล้วกว่าจะถึงจุดนี้ พวกเขา(แรงงาน)ก็ต่อสู้กันมามากกว่าจะได้สิทธิต่างๆ และสิทธิต่างๆเองมันก็ดีต่อตัวบริษัทเองด้วยครับ
ผู้กล้าอาณาจักรกุหลาบ https://goshujin.tk/index.php/topic,15078.0.html
ึคุณพ่อผมถูกเอาเงินจ้างฟาดหัว ผมเลยต้องมาเป็นนักมวยไทยที่ต่างแดน https://goshujin.tk/index.php?topic=32172.msg796105#msg796105
 

ออฟไลน์ Rumia

  • จอมทัพหมีหนุ่ม
  • *
  • กระทู้: 8,200
  • ถูกใจแล้ว: 3876 ครั้ง
  • ความนิยม: +297/-400
Re: ก็งงกับ มาม่า เงินเดือน 15000
« ตอบกลับ #57 เมื่อ: กรกฎาคม 02, 2022, 11:45:27 AM »
[quote/]


ผมมองว่าคำอ้างว่า "ก็ที่นี่ประเทศไทย" เป็นคำแก้ตัวที่ไม่ดีนะ มันฟังดูเป็นการปัดปัญหาด้วยความสิ้นหวังและน่าสมเพชมากๆ


ทุกอย่างมันแก้ได้ด้วยการแก้กฎหมายครับ เรามีระบบรัฐสภาอยู่แล้วที่มีกลไกในการออกกฎหมายพรบ.ต่างๆ แต่ปัญหามันขึ้นอยู่กับว่าต้องการจะทำหรือไม่ต่างหากครับ
สิ่งสำคัญมันคือมันต้องเริ่มก้าวแรกก่อนครับ ถ้าไม่เริ่มอะไรเลยมันก็ไม่เปลี่ยนแปลงหรอกครับ ความเหลื่อมล้ำมันก็ไม่ลดลง
ต่างประเทศเองที่มีเศรษฐกิจขนาดเท่ากันเขาทำได้ ดังนั้นมันไม่มีคำว่าทำไม่ได้ มีแต่คำว่าทำหรือไม่ทำเท่านั้นครับ


แล้วจริงๆเองต่างประเทศที่พัฒนาแล้วกว่าจะถึงจุดนี้ พวกเขา(แรงงาน)ก็ต่อสู้กันมามากกว่าจะได้สิทธิต่างๆ และสิทธิต่างๆเองมันก็ดีต่อตัวบริษัทเองด้วยครับ
[youtube/]
ประเด็นไม่ได้อยู่ที่กฏหมายไงครับประเด็นคือเรื่องที่มาของเงินตอบแทน ฝ่ายยุโรปเค้าไห้หุ้นเพื่อที่จะดึงพนักงานคนเก่งมาเป็นหนึ่งเดียวกับบ. ดังนั้นเมื่อได้หุ้นไปแล้วเท่ากับเป็นเจ้าของร่วมจึงต้องทำงานไห้บ.มีกำไรมากขึ้น แม้เงินเดือนจะลดลงหรือไม่ได้เลยแต่เพราะหุ้นถูกไห้มาครับเป็นหุ้นที่ได้รับมาจากการทำงาน แต่ต่างกับไทยหุ้นที่ได้รับมาไม่ได้มาจากการทำงานแต่ได้มาเพราะเรารู้ศักยภาพของบ.เพราะเป็นผู้บริหารระดับสูง จึงไช้ทรัพสินตัวเองลงทุนซื้อหุ้นเองเพื่อผลกำไรของตัวเองยังไงบ.ก็ขายหุ้นในตลาดอยู่แล้ว ทำใมไม่ซื้อเองถ้ารู้ว่าแต่ละปีจะได้เงินปันผลเท่าไหร่มันต่างกันมากนะครับ หรือคุณจะไห้พนักงานปตท.ที่ซื้อหุ้นปตท.ไม่ต้องรับเงินเดือนแต่มาทำงานเหมือนเดิมครับ ตราบใดที่บ.ในไทยไม่ไห้ผลงานความสำเหร็จปันเป็นหุ้นก็ลืมเรื่อง ลดเงินเดือนผู้บริหารที่ควักตังซื้อหุ้นด้วยเงินตัวเองได้เลยมันไม่ได้ตังแต่ที่มาเริ่มแรกแล้วครับ สิ่งที่ต้องเริ่มคือไห้บ.ปันหุ้นไห้พนักงานจากความสำเหร็จของงานไห้ได้ก่อน ไปพูดถึงเรื่องผู้บริหารระดับสูงมีหุ้นไม่ควรได้เงินเดือนเยอะครับ มันต่างกันตังแต่ผู้บริหารของไทยหรือเอเชียไม่มีหุ้นในบ.ที่ตัวเองทำเลยแม้แต่นิดเดียวแล้ว พวกนี้ได้เงินเดือนเพียวๆบวกเงินประจำตำแหน่งเท่านั้น ถ้าไม่ไช่ผู้ก่อตังร่วมหรือญาติไม่มีทางได้ถือหุ้นเลยถ้าบ.ไม่เข้าตลาดหลักทรัพแล้วไช้เงินตัวเองซื้อเอา ผมยกตัวอย่างคนสร้างสกายริมกับอินาฟุเนะเพราะทำงานเหมือนกันประสบความสำเหร็จแบบเดียวกัน แต่ผลลัพคนละอย่างกันท้อดสร้างผลงานไห้บ.ได้รับการแต่งตังระหว่างทำงานได้เงินโบนัสจากตำแหน่งเสริม อย่างผู้กำกับเกมและผู้บริหารระดับสูงจนบ.ต้องปันหุ้นเพื่อดึงคนมาร่วมกับบ.แม้จะไม่ได้รับเงินเดือนอีกแต่ก็ได้รับผลกำไรจาก%กำไรบ. นี่คือสิ่งที่คุณต้องการไห้เป็นและมันคือสถานะการณ์ของยุโรป แต่กลับมาที่เอเชียอินาฟุเนะก็ทำงานแบบเดียวกันประสบความสำเหร็จแบบเดียวกันระหว่างทาง สถานะการ์ณแทบจะเหมือนกันแต่ความต่างคือบ.ไม่ไห้หุ้นเขาเลยแม้แต่หุ้นเดียวแล้วคุณจะไห้ผู้บริหารระดับนี้ ทำงานโดยไม่รับเงินตอบแทนเหรอครับในการทำงานอินาฟุเนะได้เงินเดือนหลายเด้งเช่นเงินเดือนประจำ ผู้กำกับเกม ผู้บริหารบ. แต่จนออกมาก็ไม่มีหุ้นนะครับเพราะไม่ควักเงินตัวเองซื้อ ความต่างนี้คุณจะแก้ไขกม.ยังไงบังคับไห้บ.โอนหุ้นไห้พนักงานเหรอ

ออฟไลน์ deaddy

  • จอมทัพหมีหนุ่ม
  • *
  • กระทู้: 7,614
  • ถูกใจแล้ว: 2808 ครั้ง
  • ความนิยม: +186/-185
Re: ก็งงกับ มาม่า เงินเดือน 15000
« ตอบกลับ #58 เมื่อ: กรกฎาคม 02, 2022, 11:09:25 PM »
[quote/]


บริษัทมันมีการให้หุ้นสำหรับคนที่ทำงานกับบริษัทมาอย่างยาวนานจะมีค่า Loyalty เป็นหุ้น
ต่างประเทศเองก็จ่ายโบนัสเป็นหุ้นครับ สุดท้ายก็ได้เงินปันผลจากหุ้นอยู่ดีครับ


ส่วนการพัฒนาบริษัท ผมเห็นต่างออกไปครับ คนที่จะพัฒนาบริษัทมากที่สุดคือผู้พัฒนาผลิตภัณฑ์
นั่นก็คือตกอยู่ในหมวด Direct Cost ของฝ่ายการผลิตอยู่ดีครับ
ดังนั้นเงินต้องเอาไปลง Direct Cost เยอะๆครับ ไม่ใช่เอาไปลง Indirect Cost


สัดส่วน Indirect Cost ต้องให้น้อยๆ เพื่อที่จะมีความสามารถแข่งขันกับบริษัทอื่นได้


นอกจากนี้เงินสำหรับ Indirect Cost นั้น สิ่งที่ควรลงมากที่สุดไม่ใช่ฝ่ายบริหาร
แต่เป็นฝ่ายการตลาดกับฝ่ายขายต่างหากครับ
พวกนี้คือพวกทำกำไรเข้าสู่บริษัทฝ่ายการสร้างลู่ทางการขายใหม่โดยตรง
ขณะที่ฝ่ายบริหารเป็นผู้กำหนดนโยบายภาพรวมไม่ต้องเยอะก็ได้ครับ


ฝ่ายขายน่ะสำคัญแต่ ฝ่ายบริหารผมว่าสำคัญกว่าฝ่ายผลิตครับ เพราะมีหลายบริษัทที่สามารถทดแทนฝ่ายผลิตชั่วคราวในหลายๆออเดอร์
ด้วยการหาซื้อบางอย่างทดแทน บริหารสต็อกสินค้าดึงจากที่อื่นมาทดแทน จ้างผู้รับเหมาช่วง นู่นนี่นั่นเต็มไปหมด


อย่างที่ทำงานผม ก็ผลิตงานไม่ทันใจผู้บริหารประจำครับ เลยต้องจ้างผู้รับเหมาทำแทนเยอะมาก


คือก็ไม่ใช่ว่าฝั่งออกแบบไม่ทำงานนะ แต่พอผลิตงานน้อยไป ผู้บริหารเขาก็ไปดึงโครงการคนอื่นมาทำแทนเลย
คือตั้งยอดเงินไว้ ถ้าผลิตงานไม่ทัน ก็ไปเอางานชาวบ้านมาทำจะได้ใช้งบให้หมด ฝั่งออกแบบก็ต้องมาตรวจแบบแทน
 

 

Tags:
แหล่งนิยายแปล แหล่งนิยาย นิยายแปล นิยายแต่ง มังงะ การ์ตูน อนิเมะ นายท่าน เว็บไซต์นายท่าน กระทู้สไลม์ สไลม์ยอดรัก