แหล่งนิยายแปล แหล่งนิยาย นิยายแปล นิยายแต่ง มังงะ การ์ตูน อนิเมะ นายท่าน เว็บไซต์นายท่าน กระทู้สไลม์ สไลม์ยอดรัก

ผู้เขียน หัวข้อ: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน  (อ่าน 7880 ครั้ง)

ออฟไลน์ sariora123

  • จอมพลหมีชั้นกลาง
  • **
  • กระทู้: 12,215
  • ถูกใจแล้ว: 4986 ครั้ง
  • ความนิยม: +407/-442
Re: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน
« ตอบกลับ #80 เมื่อ: มิถุนายน 10, 2021, 04:48:15 PM »
ระยะสั้น ดูพอร์ด อันไหน นิ่งเริ่มดีดขึ้น  โยนลูกเต๋าเอา ว่าจะขึ้นหรือลง เอาก็ได้มั่ง  ;D
แม่งแทบไม่ต่างกับไฮโล  บางเจ้าไอ้ที่สอนนี่แม่ม ความน่าจะเป็นจากกราฟ เพียวๆ เลยนะมรึง  :(

แถมเวลา สำคัญระดับหลัก นาที วินาที  ผมไม่ได้ว่างนั่งดูขนาดนั้น


นึกถึงพวกเชียร
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มิถุนายน 10, 2021, 04:59:10 PM โดย sariora123 »
 

ออฟไลน์ Black7nos

  • ผู้สนับสนุนเซนนิคุงY3
  • แม่ทัพหมีอาวุโส
  • ****
  • กระทู้: 4,612
  • ถูกใจแล้ว: 3469 ครั้ง
  • ความนิยม: +214/-286
Re: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน
« ตอบกลับ #81 เมื่อ: มิถุนายน 10, 2021, 04:59:34 PM »
ระยะสั้น ดูพอร์ด อันไหน นิ่งเริ่มดีดขึ้น  โยนลูกเต๋าเอา ว่าจะขึ้นหรือลง เอาก็ได้มั่ง  ;D
แม่งแทบไม่ต่างกับไฮโล  บางเจ้าไอ้ที่สอนนี่แม่ม ความน่าจะเป็นจากกราฟ เพียวๆ เลยนะมรึง  :(

แถมเวลา สำคัญระดับหลัก นาที วินาที  ผมไม่ได้ว่างนั่งดูขนาดนั้น


นึกถึงพวกเชียร


ระยะสั้นมันคือสถิติและความน่าจะเป็นแบบเพียวๆครับ ซึ่งเอาเข้าจริงๆแล้วมันก็ไม่ต่างจากการพนันเพียงแต่เพิ่มตัวช่วยของ Trend มาแค่นั้น ซึ่งบางคนอาจะชอบก็ได้
แต่ส่วนตัวผมไม่ชอบ เพราะผมไม่ชอบอะไรที่มันเป็นความเสี่ยงจากการเล่นพนัน และความน่าจะเป็น ผมถือว่ามันเป็นตัวแปรที่ควบคุมได้ยาก ยกเว้น วิชา Risk Management น่ะนะ


ดังนั้นผมจึงชอบซื้อหุ้นโดยอ่านบัญชีงบดุล งบกำไรขาดทุน และข่าวทั่วโลกเพื่อดูอุปสงค์-อุปทาน ซึ่งมันเป็นความเสี่ยงที่ผมเลือกได้ว่าจะแบกรับหรือไม่แบกรับ ผมชอบอะไรที่ผมควบคุมได้และเป็นไปตามแผน
อย่างว่าน่ะนะ เพราะ ผมเป็น INFJ ตัว J-Judging คือชอบการวางแผนระยะยาว N+J คือ ผมชอบมองภาพรวม ซึ่งตรงข้ามกับ P เพราะผมไม่ชอบการด้นสด ตามลักษณะ P-Perceiving ที่ชอบเล่นหุ้นระยะสั้น พวกที่เล่นหุ้นระยะสั้นเก่งๆ มักจะเป็น P-Perceiving


หรืออย่างไรลองดูบุคลิกตัวเองก่อนครับว่า บุคลิกตนเองเป็นแบบไหน สามารถลงทุนให้เหมาะกับนิสัยตัวเองได้ด้วย MBTI
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มิถุนายน 10, 2021, 05:01:21 PM โดย Black7nos »
ผู้กล้าอาณาจักรกุหลาบ https://goshujin.tk/index.php/topic,15078.0.html
ึคุณพ่อผมถูกเอาเงินจ้างฟาดหัว ผมเลยต้องมาเป็นนักมวยไทยที่ต่างแดน https://goshujin.tk/index.php?topic=32172.msg796105#msg796105
 

ออฟไลน์ sechan

  • แม่ทัพหมีชั้นสูง
  • ***
  • กระทู้: 3,022
  • ถูกใจแล้ว: 1784 ครั้ง
  • ความนิยม: +155/-261
Re: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน
« ตอบกลับ #82 เมื่อ: มิถุนายน 10, 2021, 05:07:08 PM »
เล่นกันเพลาด้วยนะอย่าทุ่มเยอะ น้าผมเกษียณออกงานมา เอาบำนาญไปลงทุนหมดทีติดดอยสุดท้าย ซีดแตก... เลือดอาบ ???  บ้านเกือบแตก
 

ออฟไลน์ Black7nos

  • ผู้สนับสนุนเซนนิคุงY3
  • แม่ทัพหมีอาวุโส
  • ****
  • กระทู้: 4,612
  • ถูกใจแล้ว: 3469 ครั้ง
  • ความนิยม: +214/-286
Re: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน
« ตอบกลับ #83 เมื่อ: มิถุนายน 10, 2021, 05:12:19 PM »
เล่นกันเพลาด้วยนะอย่าทุ่มเยอะ น้าผมเกษียณออกงานมา เอาบำนาญไปลงทุนหมดทีติดดอยสุดท้าย ซีดแตก... เลือดอาบ ???  บ้านเกือบแตก


เดี๋ยวนี้เขามีนักวิเคราะห์แนะนำนะสำหรับผู้เกษียณอายุว่าควรเล่นแบบไหนที่ไม่เสี่ยงเกินไป กินปันผลชิวๆ เล่นแบบ Playsafe หรือไม่ก็เล่นกองทุนก็ได้ครับ ถ้าบริหารพอร์ทไม่เป็นจริงๆ


คนที่เล่นหุ้นสายลุยควรเป็นคนหนุ่มมีแรงทำงานอายุน้อย ล้มก็หาใหม่ได้เรื่อยๆ แต่จะเป็นสายสั้น กลาง หรือยาวก็แล้วแต่คนเลย สั้นก็เสี่ยงแบบ Hard Core หน่อย ยาวก็เสี่ยงน้อยหน่อย


Greed is good ครับ เพียงแต่จะ Good ได้ ต้องอ่านศึกษาเยอะๆครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มิถุนายน 10, 2021, 05:16:35 PM โดย Black7nos »
ผู้กล้าอาณาจักรกุหลาบ https://goshujin.tk/index.php/topic,15078.0.html
ึคุณพ่อผมถูกเอาเงินจ้างฟาดหัว ผมเลยต้องมาเป็นนักมวยไทยที่ต่างแดน https://goshujin.tk/index.php?topic=32172.msg796105#msg796105
 

ออฟไลน์ sariora123

  • จอมพลหมีชั้นกลาง
  • **
  • กระทู้: 12,215
  • ถูกใจแล้ว: 4986 ครั้ง
  • ความนิยม: +407/-442
Re: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน
« ตอบกลับ #84 เมื่อ: มิถุนายน 10, 2021, 05:23:34 PM »
เล่นกันเพลาด้วยนะอย่าทุ่มเยอะ น้าผมเกษียณออกงานมา เอาบำนาญไปลงทุนหมดทีติดดอยสุดท้าย ซีดแตก... เลือดอาบ ???  บ้านเกือบแตก


มีคนพูดไว้ว่า ไม้เดียว รวยคือรวย เละ เจ๊งคือ...
 
เหล่าหมีที่ถูกใจสิ่งนี้: 29Forever

ออฟไลน์ Black7nos

  • ผู้สนับสนุนเซนนิคุงY3
  • แม่ทัพหมีอาวุโส
  • ****
  • กระทู้: 4,612
  • ถูกใจแล้ว: 3469 ครั้ง
  • ความนิยม: +214/-286
Re: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน
« ตอบกลับ #85 เมื่อ: มิถุนายน 10, 2021, 05:25:39 PM »
[quote/]


มีคนพูดไว้ว่า ไม้เดียว รวยคือรวย เละ เจ๊งคือ...


ไอ้คนที่เล่นแบบ YOLO สุดตัวแบบเสี่ยงวัดใจแบบนี้ เล่นหุ้น Option หรือ Future หรืออย่างไรถึงได้เจ๊งเละเทะขนาดนี้


เพราะปกติถ้าเล่นหุ้นจะไม่เจ๊งหายนะ อย่างน้อยก็จะกินปันผลอย่างสบายใจ ถึงแม้ว่าราคาตก
ผู้กล้าอาณาจักรกุหลาบ https://goshujin.tk/index.php/topic,15078.0.html
ึคุณพ่อผมถูกเอาเงินจ้างฟาดหัว ผมเลยต้องมาเป็นนักมวยไทยที่ต่างแดน https://goshujin.tk/index.php?topic=32172.msg796105#msg796105
 

ออฟไลน์ deaddy

  • ผู้สนับสนุนเซนนิคุงY3
  • จอมทัพหมีหนุ่ม
  • *
  • กระทู้: 7,905
  • ถูกใจแล้ว: 2941 ครั้ง
  • ความนิยม: +206/-1
Re: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน
« ตอบกลับ #86 เมื่อ: มิถุนายน 10, 2021, 05:48:02 PM »
ถ้าจะถือยาวหลักปี ผมแน่ะนำ ace ครับ
แผนเขาเติบโตชัดเจน เอาแค่กำลังการผลิตปีหน้า
เป้าเขาโต 80% เลย เงินก็ไม่มีปัญหาต้องขอเพิ่ม


ส่วนราคา pe ก็ไม่เว่อกับหุ้นที่มีแผนโตชัดเจนแบบนี้


หุ้นปันผลสูงก็ไม่ใช่ว่าผมไม่สนนะ แต่มันต้องดูที่อนาคตด้วยว่ามีโอกาสเติบโตไหม


อย่าง ttw รายได้ดีปันผลสูง แต่โอกาสเติบโตต่ำมาก
แต่ก็ใช่ว่าจะโตไม่ได้ ต้องไปดูที่ eec ว่ามีกำลังการใช้เท่าไหร่
ขนาด บ. งบแค่ไหน


ปีก่อนโควิด ผมซื้อ synex เพราะปันผลดี pe ต่ำโอกาสเติบโตมี แต่ก็นะพอโควิดเลยขายไปเข้าตัวอื่นพลาดเหมือนกัน :P 


แต่ตัวที่ไปเข้าก็กำไรเยอะนะ
 

ออฟไลน์ sariora123

  • จอมพลหมีชั้นกลาง
  • **
  • กระทู้: 12,215
  • ถูกใจแล้ว: 4986 ครั้ง
  • ความนิยม: +407/-442
Re: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน
« ตอบกลับ #87 เมื่อ: มิถุนายน 10, 2021, 05:59:11 PM »
พอร์ดผมเปิดไว้ตั้งแต่ตอนไหนจำไม่ค่อยได้ แต่นานมากแล้วตั้งแต่ AIS มันราคา ราวๆ 150 160 สมัยก่อนโน้น
ว่าแต่แผน ธุรกิจ ของแต่ละที่ไปหาดูจากไหนครับ ท่าน





 

ออฟไลน์ deaddy

  • ผู้สนับสนุนเซนนิคุงY3
  • จอมทัพหมีหนุ่ม
  • *
  • กระทู้: 7,905
  • ถูกใจแล้ว: 2941 ครั้ง
  • ความนิยม: +206/-1
Re: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน
« ตอบกลับ #88 เมื่อ: มิถุนายน 10, 2021, 06:13:43 PM »
เล่นกันเพลาด้วยนะอย่าทุ่มเยอะ น้าผมเกษียณออกงานมา เอาบำนาญไปลงทุนหมดทีติดดอยสุดท้าย ซีดแตก... เลือดอาบ ???  บ้านเกือบแตก


เงินสดผมถือราวๆ 1.5% ของพอร์ทลงทุน ;D 


พอร์ดผมเปิดไว้ตั้งแต่ตอนไหนจำไม่ค่อยได้ แต่นานมากแล้วตั้งแต่ AIS มันราคา ราวๆ 150 160 สมัยก่อนโน้น
ว่าแต่แผน ธุรกิจ ของแต่ละที่ไปหาดูจากไหนครับ ท่าน








ถ้าขี้เกียจก็อ่านตามเวปข่าว เขาจะสรุปมาละ
ถ้าขยันก็ set.or.th กับไปประชุมผู้ถือหุ้น
สมัยนี้ หลายๆ บ. ออกมา live อยู่ไปกดดูใน youtube ได้
ทั้งช่องข่าวทั้ง ช่อง set ว่างๆก็กดฟังไปทำอย่างอื่นไป


ช่วงนี้ผมโฟกัสเหลือหุ้นไม่กี่ตัวละงานเลยไม่หนักมาก
ตอนก่อนนี้โครตเหนื่อยเพราะต้องหาหุ้นฟื้นโควิด
 
เหล่าหมีที่ถูกใจสิ่งนี้: Black7nos

ออฟไลน์ nosta

  • แม่ทัพหมีชั้นสูง
  • ***
  • กระทู้: 2,522
  • ถูกใจแล้ว: 1150 ครั้ง
  • ความนิยม: +106/-145
Re: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน
« ตอบกลับ #89 เมื่อ: มิถุนายน 10, 2021, 10:42:54 PM »
[quote/]


30 ล้าน คือ แค่พออยู่ได้ครับสำหรับ 42 ปี ข้างหน้าหลังเกษียรณ(สมมุติว่าทำงานตั้งแต่อายุ 18 ปี) เพียงแต่ไม่ได้อยู่อย่างไฮโซ


เป็นการอยู่แบบชนชั้นกลางที่พึ่งตัวเองทั้งหมด โดยไม่ขอความช่วยเหลือจากลูกหลาน หรือ กรณีไม่มีสวัสดิการใดๆเลย


มันคือการเผื่อค่ารักษาพยาบาลในยามเจ็บป่วยหลังเกษียณ เพราะ ยิ่งอายุเยอะค่าใช้จ่ายมันจะยิ่งเยอะตาม


อย่างถ้าคุณไปถามนักวิเคราะห์การลงทุน เขาจะบอกว่าเราควรมีเงินเก็บ 30 ล้าน ในอีก 42 ปีข้างหน้า


หลายคนวางแผนการเงินผิด เพราะไม่ได้คิดเงินเฟ้อรวมด้วย พอเกษียณปรากฎว่าเงินไม่พอค่ารักษาและค่ากินอยู่ ทั้งที่วางแผนการเงินไว้แล้วก็หลายคนนะครับ


ซึ่งผมเห็นตัวเลขแล้วถึงบอกว่า ทำไมประเทศนี้ถึงจะเป็นต้องมีรัฐสวัสดิการแบบจริงๆจังๆซะที เศรษฐกิจของเรามี GDP อันดับ 25 ซึ่งถือว่าค่อนข้างดี แต่ทำไมถึงมีหลายครอบครัวที่รายได้ไม่พอ


นั่นเพราะมันขาดสิ่งที่เรียกว่ารัฐสวัสดิการครับ ผมถึงเคยพูดหลายครั้งแล้วว่าจะเก็บภาษีเท่าไหร่ก็ได้ จะ 50% หรือ 99% ก็ยังได้ ขอเพียงมีรัฐสวัสดิการในการดำรงชีพที่ไม่น้อยกว่าที่เราจ่ายลงไปก็พอครับ


คุณคิดอยู่หลังเกษียณ 42 ปีมันยาวไปครับเกษียณ 60 อยู่ถึง 102 นี่เกือบเป็นสถิติประเทศ และต่อให้คุณคิดอยู่ยาวขนาดนั้นจริง เฉลี่ยค่าใช้จ่ายต่อเดือน เอาแบบไม่มีผลตอบแทนการลงทุนเลยนะ จะอยู่ราว 50,000 บาทซึ่งก็ระดับผู้จัดการบริษัทขนาดกลางถึงใหญ่เลยละ ไม่ใช่ระดับชนชั้นกลางทั่วไปแล้ว


และคุณก็เอาเลข gdp มาคิดว่ารัฐควรมีสวัสดิการให้ประชาชนมากขนาดไหนซึ่งมันผิด อย่าลืมว่ามันมีจำนวนคนเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย คุณต้องคิด gdp  ต่อหัว แล้วค่อยเอามาคูณ กับ tax per gdp  ถึงจะได้ tax ต่อหัวซึ่งเราถึงจะเอาตัวเลขนี้มาเทียบกับประเทศที่อยู่ระดับเดียวกับเรา ประเทศอย่างอินเดีย ถึงมีสวัสดิการสู้เราไม่ได้ทั้งที่ gdp มากกว่า เพราะคิดต่อหัวแล้วเค้าน้อยกว่า เราสู้ สิงคโปร์ไม่ได้ ด้วยเหตุผลเดียวกัน


ส่วนคุณบอกว่าจะเก็บภาษี99% ก็ได้ลองเก็บจริงๆบอกเลยร้องกันระงมนะ และพวกรัฐบาลจะชอบวิธีนี้มากเพราะมันโกงได้เยอะ แต่เศรษฐกิจประเทศจะคลานหรือพังเลย เพราะมันทำลายแรงจูงใจ และรัฐบาลมักจะบริหารได้ไม่ดีเท่าเอกชน เพราะ คนในรัฐบาลจะมีแรงจูงใจที่ทำให้ตัวเองรวยเหมือนเอกชน แต่ต้องใช้วิธีโกงแทน


ประเทศที่ tax per gdp สูงๆเศรษฐกิจโตเข้าขั้นคลานแทบทุกประเทศ ไอ้ประเทศที่เค้ารวยคือเค้ารวยก่อนแล้วถึงเพิ่มสวัสดิการ ไอ้ประเทศที่อัดสวัสดิการก่อนรวยก็มักจะยับ อย่างเวเน อย่างกรีซ ส่วนอาฟิกาไต้ที่เน้นสวัสดิการ ก็เคยรายได้ต่อหัวมากกว่าไทยตอนนี้โดนไทยแซงไปแล้ว


ส่วนให้รัฐบาลจ่ายคืน มากกว่าที่เก็บภาษีมันจะเป็นไปได้ยังไงในเมื่อรัฐบาลมีค่าใช้จ่ายในการบริหารและมีแรงจูงใจในการโกง


ผมถึงบอกไงให้เอาเงินส่วนใหญ่อยู่กับประชาชนดีกว่าเพราะบริหารได้มีประสิทธิภาพและยังไงก็ไม่โกงตัวเอง ประเทศที่เก็บภาษีต่อ gdp น้อยถึงไปได้ค่อนข้างดี


ประเทศที่ประสบความสำเร็จจริงๆยาวๆจะทำตรงกันข้ามคือ tax heaven อย่างสิงคโปร์ โมนาโค ลักเซมเบิร์ก ลิชเท่นสไตร์
 

ออฟไลน์ Black7nos

  • ผู้สนับสนุนเซนนิคุงY3
  • แม่ทัพหมีอาวุโส
  • ****
  • กระทู้: 4,612
  • ถูกใจแล้ว: 3469 ครั้ง
  • ความนิยม: +214/-286
Re: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน
« ตอบกลับ #90 เมื่อ: มิถุนายน 10, 2021, 11:42:51 PM »
[quote/]


คุณคิดอยู่หลังเกษียณ 42 ปีมันยาวไปครับเกษียณ 60 อยู่ถึง 102 นี่เกือบเป็นสถิติประเทศ และต่อให้คุณคิดอยู่ยาวขนาดนั้นจริง เฉลี่ยค่าใช้จ่ายต่อเดือน เอาแบบไม่มีผลตอบแทนการลงทุนเลยนะ จะอยู่ราว 50,000 บาทซึ่งก็ระดับผู้จัดการบริษัทขนาดกลางถึงใหญ่เลยละ ไม่ใช่ระดับชนชั้นกลางทั่วไปแล้ว


และคุณก็เอาเลข gdp มาคิดว่ารัฐควรมีสวัสดิการให้ประชาชนมากขนาดไหนซึ่งมันผิด อย่าลืมว่ามันมีจำนวนคนเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย คุณต้องคิด gdp  ต่อหัว แล้วค่อยเอามาคูณ กับ tax per gdp  ถึงจะได้ tax ต่อหัวซึ่งเราถึงจะเอาตัวเลขนี้มาเทียบกับประเทศที่อยู่ระดับเดียวกับเรา ประเทศอย่างอินเดีย ถึงมีสวัสดิการสู้เราไม่ได้ทั้งที่ gdp มากกว่า เพราะคิดต่อหัวแล้วเค้าน้อยกว่า เราสู้ สิงคโปร์ไม่ได้ ด้วยเหตุผลเดียวกัน


ส่วนคุณบอกว่าจะเก็บภาษี99% ก็ได้ลองเก็บจริงๆบอกเลยร้องกันระงมนะ และพวกรัฐบาลจะชอบวิธีนี้มากเพราะมันโกงได้เยอะ แต่เศรษฐกิจประเทศจะคลานหรือพังเลย เพราะมันทำลายแรงจูงใจ และรัฐบาลมักจะบริหารได้ไม่ดีเท่าเอกชน เพราะ คนในรัฐบาลจะมีแรงจูงใจที่ทำให้ตัวเองรวยเหมือนเอกชน แต่ต้องใช้วิธีโกงแทน


ประเทศที่ tax per gdp สูงๆเศรษฐกิจโตเข้าขั้นคลานแทบทุกประเทศ ไอ้ประเทศที่เค้ารวยคือเค้ารวยก่อนแล้วถึงเพิ่มสวัสดิการ ไอ้ประเทศที่อัดสวัสดิการก่อนรวยก็มักจะยับ อย่างเวเน อย่างกรีซ ส่วนอาฟิกาไต้ที่เน้นสวัสดิการ ก็เคยรายได้ต่อหัวมากกว่าไทยตอนนี้โดนไทยแซงไปแล้ว


ส่วนให้รัฐบาลจ่ายคืน มากกว่าที่เก็บภาษีมันจะเป็นไปได้ยังไงในเมื่อรัฐบาลมีค่าใช้จ่ายในการบริหารและมีแรงจูงใจในการโกง


ผมถึงบอกไงให้เอาเงินส่วนใหญ่อยู่กับประชาชนดีกว่าเพราะบริหารได้มีประสิทธิภาพและยังไงก็ไม่โกงตัวเอง ประเทศที่เก็บภาษีต่อ gdp น้อยถึงไปได้ค่อนข้างดี


ประเทศที่ประสบความสำเร็จจริงๆยาวๆจะทำตรงกันข้ามคือ tax heaven อย่างสิงคโปร์ โมนาโค ลักเซมเบิร์ก ลิชเท่นสไตร์


ผมกำลังบอกในเชิงเปรียบเปรยว่า รัฐน่ะจะเก็บภาษีเท่าไหร่ก็ได้ ถ้าสามารถบริหารเงินเป็น ถ้าบริหารไม่เป็นก็ไม่ต้องเก็บเยอะ
เพราะระบบรัฐสวัสดิการ มันจะคล้ายกับการซื้อของขายส่ง เพราะคุณมีจำนวนลูกค้ามากดังนั้นของต่อหน่วยจะมีราคาถูกลง เพราะมันเป็น Mass Product
เมื่อเทียบกับแต่ละคนไปซื้อของใครของมันเองแบบขายปลีก เช่นปล่อยให้ประชาชนทุกคนไปทำประกันชีวิตหรือสุขภาพของใครของมันเองมันจะแพงกว่า
ซึ่งสิ่งนี้คือแนวคิดเศรษฐศาสตร์สังคมนิยม ซื้อของมากมันจะต้องได้ของต่อหน่วยถูก ซื้อของน้อยมันจะต้องได้ของต่อหน่วยแพง
ผมกำลังจะบอกว่าตอนนี้ประเทศของเรามันเป็นลูกผสมที่มันไม่ออกไปสุดทางใดทางหนึ่งซักทาง
มันจะเก็บภาษีแบบขั้นบันไดและมีระบบประกันสังคมแบบสังคมนิยมนะ แต่มันก็ตอบแทนไม่คุ้มเหมือนกับสังคมนิยม
พลันจะทำแบบทุนนิยม มันก็ไม่ตลาดเสรีสุดทางแบบทุนนิยมอีก มีกฎหมายผูกขาดบางสินค้าแบบแปลกๆ เช่น เหล้า บุหรี่ มันเป็นระบบอะไรก็ไม่รู้ ไม่ไปทางไหนซักทาง
จะเป็นระบบไหนก็เป็นเถอะ แต่ขอให้มันเป็นจริงๆจังๆก็แล้วกัน ไม่ใช่เหยียบเรือสองแคม จับปลาสองมือ


และอันที่จริงถ้าถกกับผมบ่อยๆแบบ @samuison หรือ @deaddy จะรู้ว่าผมไม่ใช่คนที่แนวคิดสังคมนิยมเลย และก็ไม่ใช่ทุนนิยมด้วย
แนวคิดผมจริงๆ ที่ผมเชียร์ คือ Direct Democracy แบบสวิตเซอร์แลนด์ หรือ แบบโรจาว่า


ในเมื่อทั้งสังคมนิยมเอย หรือ ทุนนิยมเอย ก็ย่อมมีปัญหาคือความเหลื่อมล้ำระหว่างชนชั้นแรงงานกับนายทุน เนื่องจากฝั่งหนึ่งเป็นแค่ลูกจ้างอีกฝั่งหนึ่งเป็นเจ้าของ
แต่ Direct Democracy จะคิดในมุมกลับ ในเมื่อความเหลื่อมล้ำเกินจาก 2 ชนชั้น ทำไมเราไม่ทำ 2 ชนชั้นนี้ให้กลายเป็นชนชั้นเดียวกัน เป็นทั้งลูกจ้างและก็เป็นทั้งเจ้าของนายเวลาเดียวกันก็สิ้นเรื่อง
และเมื่อเป็นเช่นนี้มันก็ไม่จำเป็นต้องมีกฎหมายคุ้มครองแรงงานอีก เพราะทุกคนที่เป็นลูกจ้างต่างก็คือเจ้าของกิจการในคราวเดียวกัน
ยกเลิกระบบเงินเดือนค่าแรง(Wage&Salary) เปลี่ยนมาใช้ระบบปันผลรายเดือนแทน(Monthly Dividend)
เช่น สมมุติว่าบริษัททำกำไรเดือนนี้มา 100% ก็จะหักเป็นทุนสำรองสะสม 5% ตามกฎหมาย อีก 95% ที่เหลือผู้ที่เป็นทั้งเจ้าของและพนักงานก็จะมาตกลงกันว่าจะแบ่งกำไรสะสมกันตามหุ้นส่วนที่ลงทุน
ผู้กล้าอาณาจักรกุหลาบ https://goshujin.tk/index.php/topic,15078.0.html
ึคุณพ่อผมถูกเอาเงินจ้างฟาดหัว ผมเลยต้องมาเป็นนักมวยไทยที่ต่างแดน https://goshujin.tk/index.php?topic=32172.msg796105#msg796105
 

ออฟไลน์ nosta

  • แม่ทัพหมีชั้นสูง
  • ***
  • กระทู้: 2,522
  • ถูกใจแล้ว: 1150 ครั้ง
  • ความนิยม: +106/-145
Re: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน
« ตอบกลับ #91 เมื่อ: มิถุนายน 11, 2021, 12:04:38 AM »
[quote/]


ผมกำลังบอกในเชิงเปรียบเปรยว่า รัฐน่ะจะเก็บภาษีเท่าไหร่ก็ได้ ถ้าสามารถบริหารเงินเป็น ถ้าบริหารไม่เป็นก็ไม่ต้องเก็บเยอะ
เพราะระบบรัฐสวัสดิการ มันจะคล้ายกับการซื้อของขายส่ง เพราะคุณมีจำนวนลูกค้ามากดังนั้นของต่อหน่วยจะมีราคาถูกลง เพราะมันเป็น Mass Product
เมื่อเทียบกับแต่ละคนไปซื้อของใครของมันเองแบบขายปลีก เช่นปล่อยให้ประชาชนทุกคนไปทำประกันชีวิตหรือสุขภาพของใครของมันเองมันจะแพงกว่า
ซึ่งสิ่งนี้คือแนวคิดเศรษฐศาสตร์สังคมนิยม ซื้อของมากมันจะต้องได้ของต่อหน่วยถูก ซื้อของน้อยมันจะต้องได้ของต่อหน่วยแพง
ผมกำลังจะบอกว่าตอนนี้ประเทศของเรามันเป็นลูกผสมที่มันไม่ออกไปสุดทางใดทางหนึ่งซักทาง
มันจะเก็บภาษีแบบขั้นบันไดและมีระบบประกันสังคมแบบสังคมนิยมนะ แต่มันก็ตอบแทนไม่คุ้มเหมือนกับสังคมนิยม
พลันจะทำแบบทุนนิยม มันก็ไม่ตลาดเสรีสุดทางแบบทุนนิยมอีก มีกฎหมายผูกขาดบางสินค้าแบบแปลกๆ เช่น เหล้า บุหรี่ มันเป็นระบบอะไรก็ไม่รู้ ไม่ไปทางไหนซักทาง
จะเป็นระบบไหนก็เป็นเถอะ แต่ขอให้มันเป็นจริงๆจังๆก็แล้วกัน ไม่ใช่เหยียบเรือสองแคม จับปลาสองมือ


และอันที่จริงถ้าถกกับผมบ่อยๆแบบ @samuison หรือ @deaddy จะรู้ว่าผมไม่ใช่คนที่แนวคิดสังคมนิยมเลย และก็ไม่ใช่ทุนนิยมด้วย
แนวคิดผมจริงๆ ที่ผมเชียร์ คือ Direct Democracy แบบสวิตเซอร์แลนด์ หรือ แบบโรจาว่า


ในเมื่อทั้งสังคมนิยมเอย หรือ ทุนนิยมเอย ก็ย่อมมีปัญหาคือความเหลื่อมล้ำระหว่างชนชั้นแรงงานกับนายทุน เนื่องจากฝั่งหนึ่งเป็นแค่ลูกจ้างอีกฝั่งหนึ่งเป็นเจ้าของ
แต่ Direct Democracy จะคิดในมุมกลับ ในเมื่อความเหลื่อมล้ำเกินจาก 2 ชนชั้น ทำไมเราไม่ทำ 2 ชนชั้นนี้ให้กลายเป็นชนชั้นเดียวกัน เป็นทั้งลูกจ้างและก็เป็นทั้งเจ้าของนายเวลาเดียวกันก็สิ้นเรื่อง
และเมื่อเป็นเช่นนี้มันก็ไม่จำเป็นต้องมีกฎหมายคุ้มครองแรงงานอีก เพราะทุกคนที่เป็นลูกจ้างต่างก็คือเจ้าของกิจการในคราวเดียวกัน
ยกเลิกระบบเงินเดือนค่าแรง(Wage&Salary) เปลี่ยนมาใช้ระบบปันผลรายเดือนแทน(Monthly Dividend)
เช่น สมมุติว่าบริษัททำกำไรเดือนนี้มา 100% ก็จะหักเป็นทุนสำรองสะสม 5% ตามกฎหมาย อีก 95% ที่เหลือผู้ที่เป็นทั้งเจ้าของและพนักงานก็จะมาตกลงกันว่าจะแบ่งกำไรสะสมกันตามหุ้นส่วนที่ลงทุน


มันไม่ง่ายอย่างงั้นครับ รัฐสวัสดิการไม่ได้ทำให้ต้นทุนถูกลงแต่ตรงกันข้ามมันทำให้ต้นทุนแพงขึ้น อย่างค่ารักษาพยาบาลในรัฐสวัสดิการจะแพงมากๆ  ดูอย่างสมัยโอบาม่ามันแพงขนาดที่ทำให้เอกชนอื่นๆกำไรหายหมด เนื่องจากต้องไปจ่ายสวัสดิการ พนง เศรษฐกิจก็เริ่มโตช้า ต่างจากทรัมพ์ ที่เอาโอบาม่าแคร์ออก แล้วเศรษฐกิจโตเร็วขึ้น ดูเอาความเป็นจริง ประเทศไหนเป็นรัฐสวัสดิการ ถ้ารวยก็เศรษฐกิจคลาน ถ้าไม่รวยก็เศรษฐกิจพัง ตามตัวอย่างที่โพสในเม้นก่อนๆ


ส่วนวิธีลงขันแบบโรจาว่ามันไม่เวิร์คหรอกครับ มันก็คล้ายกับคอมมิวนิสต์ แต่ลดยูนิตให้เล็กลงมาหน่อย ใครทำมากทำน้อยได้เท่ากันหมดในองค์กรณ์ ซึ่งถ้าคุณต้องการทำระบบแบบนี้ไม่ต้องย้ายไปโรจาว่าคุณก็ทำได้ แค่หุ้นกับเพื่อนเท่าๆกัน ช่วยกันทำงาน แต่ไม่มีบริษัทระดับท๊อปแห่งไหนที่ใช้ระบบนี้เลย เพราะมันไม่จูงใจให้ทำงาน มันดีกว่าคอมมิวนิสต์ แต่สู้ทุนนิยมไม่ได้ ยังไงระบบทุนนิยมก็คือระบบที่ดีที่สุดและช่วยคนจนได้มากที่สุดเท่าที่มีอยู่ณ ตอนนี้ ยังไง เป็นคนจนกินค่าแรงขั้นต่ำในอเมริกา ก็ดีกว่า อยู่ในเกาหลีเหนือ หรือ โจรจาว่า
 

ออฟไลน์ Black7nos

  • ผู้สนับสนุนเซนนิคุงY3
  • แม่ทัพหมีอาวุโส
  • ****
  • กระทู้: 4,612
  • ถูกใจแล้ว: 3469 ครั้ง
  • ความนิยม: +214/-286
Re: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน
« ตอบกลับ #92 เมื่อ: มิถุนายน 11, 2021, 12:47:32 AM »
[quote/]


มันไม่ง่ายอย่างงั้นครับ รัฐสวัสดิการไม่ได้ทำให้ต้นทุนถูกลงแต่ตรงกันข้ามมันทำให้ต้นทุนแพงขึ้น อย่างค่ารักษาพยาบาลในรัฐสวัสดิการจะแพงมากๆ  ดูอย่างสมัยโอบาม่ามันแพงขนาดที่ทำให้เอกชนอื่นๆกำไรหายหมด เนื่องจากต้องไปจ่ายสวัสดิการ พนง เศรษฐกิจก็เริ่มโตช้า ต่างจากทรัมพ์ ที่เอาโอบาม่าแคร์ออก แล้วเศรษฐกิจโตเร็วขึ้น ดูเอาความเป็นจริง ประเทศไหนเป็นรัฐสวัสดิการ ถ้ารวยก็เศรษฐกิจคลาน ถ้าไม่รวยก็เศรษฐกิจพัง ตามตัวอย่างที่โพสในเม้นก่อนๆ


ส่วนวิธีลงขันแบบโรจาว่ามันไม่เวิร์คหรอกครับ มันก็คล้ายกับคอมมิวนิสต์ แต่ลดยูนิตให้เล็กลงมาหน่อย ใครทำมากทำน้อยได้เท่ากันหมดในองค์กรณ์ ซึ่งถ้าคุณต้องการทำระบบแบบนี้ไม่ต้องย้ายไปโรจาว่าคุณก็ทำได้ แค่หุ้นกับเพื่อนเท่าๆกัน ช่วยกันทำงาน แต่ไม่มีบริษัทระดับท๊อปแห่งไหนที่ใช้ระบบนี้เลย เพราะมันไม่จูงใจให้ทำงาน มันดีกว่าคอมมิวนิสต์ แต่สู้ทุนนิยมไม่ได้ ยังไงระบบทุนนิยมก็คือระบบที่ดีที่สุดและช่วยคนจนได้มากที่สุดเท่าที่มีอยู่ณ ตอนนี้ ยังไง เป็นคนจนกินค่าแรงขั้นต่ำในอเมริกา ก็ดีกว่า อยู่ในเกาหลีเหนือ หรือ โจรจาว่า


นั่นแสดงว่าคุณไม่เข้าใจว่าคอมมิวนิสต์คืออะไรสินะ


คอมมิวนิสต์ ทรัพย์สินจะตกเป็นของรัฐ ดังนั้นรัฐคือเจ้าของทุน รัฐคือนายจ้าง 100%


แต่ Direct Democracy แตกต่างกันออกไป เจ้าของทุนคือลูกจ้างเอง และลูกจ้างเป็นเจ้าของทุน 100% ซึ่งตรงข้ามกับหลักการคอมมิวนิสต์แบบสุดทาง


และอันที่จริงคุณขาดความเข้าใจว่าคอมมิวนิสต์คืออะไร หลักการคอมมิวนิสต์ที่แท้จริงต้องคิดในเชิงเศรษฐศาสตร์แบบคาร์ล มาร์ก ที่เป็นนักเศรษฐศาสตร์


ไม่ใช่ใช้คอมมิวนิสต์ในทางทหารแบบสตาลิน หรือ เหมาเจ๋อตุง นั่นเป็นการตีความคอมมิวนิสต์ในทางที่ผิดและก็เกิดหายนะ


ถ้าคุณนึก Direct Democracy ไม่ออก นึกถึงสโมสร Barcelona ในสเปนก็ได้ครับ Barcelona เป็นสโมสรฟุตบอลระดับโลกที่บริหารโดยในระบบ Co-op ใน Direct Democracy มานานแล้ว





บริษัทผลิตน้ำผลไม้ แครนเบอร์รี่ที่ใหญ่ที่สุดในโลกในแง่ของส่วนแบ่งการตลาดคือ Ocean Osprey ก็ใช้ระบบ Co-op ของ Direct Democracy เช่นกัน





ประเทศไทยอาจจะไม่รู้จักระบบนี้ แต่อันที่จริงระบบนี้บางบริษัทและบางประเทศใช้มาตั้งแต่สงครามโลกแล้วนะครับ


อย่างสวิตเซอร์แลนด์ ระบบของเขาเรียกว่า Semi Direct Democracy คุณลองไปหาข้อมูลเพิ่มเติมดู ระบบนี้มันทำสำเร็จมาแล้ว ตั้งแต่ก่อนสงครามโลก ไม่ใช่ไม่มีใครเคยทำ


โรจาว่าแค่ทำตามสวิตเซอแลนด์เป็นตัวอย่าง ในทุกด้านทั้งเศรษฐกิจและการทหาร แต่ทดลองผลักนโยบายนี้ไปแบบให้สุดทางในแบบที่ไม่เคยมีใครทำมาก่อน


โรจาว่าน่ะนะ อยู่ Frontline ระหว่างกลางความขัดแย้งระหว่าง ซีเรีย ตุรกี และ ISIS ที่ต้องการยึดดินแดนในส่วนของโรจาว่าที่พึ่งปลดแอกและได้รับรองจาก UN แล้ว


เขาก่อตั้งราวๆ ปี 2012 จนถึงปัจจุบัน ผู้ที่ต่อสู้ผลักดันให้ ISIS ต้องถอยออกไปหลบอยู่ในชายแดนตุรกี คือ โรจาว่านะครับ แถวนั้นแม่งเถื่อน ถ้าไม่แน่จริงอยู่ไม่ได้


ทั้งที่ 2 ประเทศรัฐศาสนา กับ กลุ่มก่อการร้าย รุม โรจาว่า แต่เอาโรจาว่าไม่ลงนะครับ แถมพื้นที่ของโรจาว่าใหญ่กว่าเดิมเสียอีก เพราะมีชาติพันธุ์แถวนั้นเข้าร่วมมากขึ้น


โรจาว่าได้พิสูจน์แล้วว่า พวกเขาทำได้ด้วยระบบใหม่ของพวกเขา ความแข็งแกร่งของพวกเขาเป็นของจริง เหลือแค่เพียงระบบเศรษฐกิจที่กำลังสร้างตัวขึ้นมา อีกไม่นานเกินรอแน่ครับ


ปล.อันที่จริงผมกำลังเรียนภาษาสเปน และกำลังขอหรือไม่ก็หาทุนเองไปเรียนต่อสเปน เพื่อทำ Case study เรื่องโมเดลธุรกิจ Co-op ยกตัวอย่าง เช่น Barcelona หรือ Ocean Osprey


ผมวางแผนจะเป็น Pioneer บุกเบิกโมเดลธุรกิจ Co-op ในไทยเป็นคนแรกๆ ใครเริ่มก่อนย่อมได้เปรียบ เหมือน Bitcoin แถมคนไทยหลายคนไม่ค่อยอ่านข่าว่ต่างประเทศด้วย


จึงไม่รู้ว่าโลกของเราตอนนี้ เทรนด์ธุรกิจมันไปถึงไหนแล้ว ตอนนี้พรรคเดโมแครทและ EU กำลังสนุนสนุนธุรกิจประเภท Co-op เป็นอย่างมาก


เพราะผลวิจัยแสดงให้เห็นว่ามี Productivity เหนือกว่า ธุรกิจแบบเก่ามาก เพราะทุกคนรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของ และรักในองค์กร


และธุรกิจ Start-up ในยุโรป มีโอกาสล้มน้อยกว่าธุรกิจแบบเก่ามากโดยอิงจากสถาบันการเงินที่ปล่อยเงินกู้
ผู้กล้าอาณาจักรกุหลาบ https://goshujin.tk/index.php/topic,15078.0.html
ึคุณพ่อผมถูกเอาเงินจ้างฟาดหัว ผมเลยต้องมาเป็นนักมวยไทยที่ต่างแดน https://goshujin.tk/index.php?topic=32172.msg796105#msg796105
 

ออฟไลน์ nosta

  • แม่ทัพหมีชั้นสูง
  • ***
  • กระทู้: 2,522
  • ถูกใจแล้ว: 1150 ครั้ง
  • ความนิยม: +106/-145
Re: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน
« ตอบกลับ #93 เมื่อ: มิถุนายน 11, 2021, 01:08:56 AM »
[quote/]


นั่นแสดงว่าคุณไม่เข้าใจว่าคอมมิวนิสต์คืออะไรสินะ


คอมมิวนิสต์ ทรัพย์สินจะตกเป็นของรัฐ ดังนั้นรัฐคือเจ้าของทุน รัฐคือนายจ้าง 100%


แต่ Direct Democracy แตกต่างกันออกไป เจ้าของทุนคือลูกจ้างเอง และลูกจ้างเป็นเจ้าของทุน 100% ซึ่งตรงข้ามกับหลักการคอมมิวนิสต์แบบสุดทาง


และอันที่จริงคุณขาดความเข้าใจว่าคอมมิวนิสต์คืออะไร หลักการคอมมิวนิสต์ที่แท้จริงต้องคิดในเชิงเศรษฐศาสตร์แบบคาร์ล มาร์ก ที่เป็นนักเศรษฐศาสตร์


ไม่ใช่ใช้คอมมิวนิสต์ในทางทหารแบบสตาลิน หรือ เหมาเจ๋อตุง นั่นเป็นการตีความคอมมิวนิสต์ในทางที่ผิดและก็เกิดหายนะ


ถ้าคุณนึก Direct Democracy ไม่ออก นึกถึงสโมสร Barcelona ในสเปนก็ได้ครับ Barcelona เป็นสโมสรฟุตบอลระดับโลกที่บริหารโดยในระบบ Co-op ใน Direct Democracy มานานแล้ว


[img/]


บริษัทผลิตน้ำผลไม้ แครนเบอร์รี่ที่ใหญ่ที่สุดในโลกในแง่ของส่วนแบ่งการตลาดคือ Ocean Osprey ก็ใช้ระบบ Co-op ของ Direct Democracy เช่นกัน


[img/]


ประเทศไทยอาจจะไม่รู้จักระบบนี้ แต่อันที่จริงระบบนี้บางบริษัทและบางประเทศใช้มาตั้งแต่สงครามโลกแล้วนะครับ


อย่างสวิตเซอร์แลนด์ ระบบของเขาเรียกว่า Semi Direct Democracy คุณลองไปหาข้อมูลเพิ่มเติมดู ระบบนี้มันทำสำเร็จมาแล้ว ตั้งแต่ก่อนสงครามโลก ไม่ใช่ไม่มีใครเคยทำ


โรจาว่าแค่ทำตามสวิตเซอแลนด์เป็นตัวอย่าง ในทุกด้านทั้งเศรษฐกิจและการทหาร แต่ทดลองผลักนโยบายนี้ไปแบบให้สุดทางในแบบที่ไม่เคยมีใครทำมาก่อน


โรจาว่าน่ะนะ อยู่ Frontline ระหว่างกลางความขัดแย้งระหว่าง ซีเรีย ตุรกี และ ISIS ที่ต้องการยึดดินแดนในส่วนของโรจาว่าที่พึ่งปลดแอกและได้รับรองจาก UN แล้ว


เขาก่อตั้งราวๆ ปี 2012 จนถึงปัจจุบัน ผู้ที่ต่อสู้ผลักดันให้ ISIS ต้องถอยออกไปหลบอยู่ในชายแดนตุรกี คือ โรจาว่านะครับ แถวนั้นแม่งเถื่อน ถ้าไม่แน่จริงอยู่ไม่ได้


ทั้งที่ 2 ประเทศรัฐศาสนา กับ กลุ่มก่อการร้าย รุม โรจาว่า แต่เอาโรจาว่าไม่ลงนะครับ แถมพื้นที่ของโรจาว่าใหญ่กว่าเดิมเสียอีก เพราะมีชาติพันธุ์แถวนั้นเข้าร่วมมากขึ้น


โรจาว่าได้พิสูจน์แล้วว่า พวกเขาทำได้ด้วยระบบใหม่ของพวกเขา ความแข็งแกร่งของพวกเขาเป็นของจริง เหลือแค่เพียงระบบเศรษฐกิจที่กำลังสร้างตัวขึ้นมา อีกไม่นานเกินรอแน่ครับ


ปล.อันที่จริงผมกำลังเรียนภาษาสเปน และกำลังขอหรือไม่ก็หาทุนเองไปเรียนต่อสเปน เพื่อทำ Case study เรื่องโมเดลธุรกิจ Co-op ยกตัวอย่าง เช่น Barcelona หรือ Ocean Osprey


ผมวางแผนจะเป็น Pioneer บุกเบิกโมเดลธุรกิจ Co-op ในไทยเป็นคนแรกๆ ใครเริ่มก่อนย่อมได้เปรียบ เหมือน Bitcoin แถมคนไทยหลายคนไม่ค่อยอ่านข่าว่ต่างประเทศด้วย


จึงไม่รู้ว่าโลกของเราตอนนี้ เทรนด์ธุรกิจมันไปถึงไหนแล้ว ตอนนี้พรรคเดโมแครทและ EU กำลังสนุนสนุนธุรกิจประเภท Co-op เป็นอย่างมาก


เพราะผลวิจัยแสดงให้เห็นว่ามี Productivity เหนือกว่า ธุรกิจแบบเก่ามาก เพราะทุกคนรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของ และรักในองค์กร


และธุรกิจ Start-up ในยุโรป มีโอกาสล้มน้อยกว่าธุรกิจแบบเก่ามากโดยอิงจากสถาบันการเงินที่ปล่อยเงินกู้
ไม่ใช้แล้วละครับ direct democracy  ตามชื่อเลยครับ คือเลือกตั้งโหวตตรง ตั้งกฎหมายโหวตตรงโดยประชาชน ตั้งแม่ทัพ โหวตตรง ตัดสินคดีโหวตตรงๆ แบบเอเธนครับ ส่วนเจ้าของกิจการก ก็คือปัจเจกชน


โรจาว่า ใช้ระบบที่คล้ายคอมมิวนิสต์มากและเป็นต้นแบบของคอมมิวนิสต์ ซึ่งคิดค้นโดยยิว ชื่อว่า กี๊บบุช คล้ายกับคอมมิวนิสต์แต่เป็นยูนิตเล็กลง แต่ละคนในกลุ่มต้อง แชร์ผลผลิต การลงทุน และกำไรเท่าๆกัน


โรจาว่าพิสูจน์แล้วว่าแข็งแกร่งรบชนะ ก็ไม่ต่างอะไรกับอมมิวนิสต์ในสงครามโลกครั้งที่ 2 เลยครับ โซเวียตก็รบชนะ จีนคอมมิวนิสต์ก็ชนะหลังสงครามเย็นก็มีประเทศคอมมิวนิสต์มากขึ้นเรื่อยๆชนะอย่างต่อเนื่อง แต่นั่นมันเรื่องของสงครามเรื่องเศรษฐกิจมันคนละเรื่องกันครับ

ส่วนสวิสเป็นประชาธิปไตยกึ่งตรงคล้ายเอเธนสิครับแต่ไม่มีคอมมูนเหมือนโรจาว่า ระบบที่จะทำลายเศรษฐกิจโรจาว่าคือคอมมูนครับ ส่วนประชาธิปไตยทางตรงจะใช้ได้ดีกับประเทศเล็กๆแบบเอเธนส์









« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มิถุนายน 11, 2021, 01:18:48 AM โดย nosta »
 

ออฟไลน์ 29Forever

  • หัวหน้าฝูงหมีกลาง
  • ****
  • กระทู้: 517
  • ถูกใจแล้ว: 256 ครั้ง
  • ความนิยม: +12/-53
Re: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน
« ตอบกลับ #94 เมื่อ: มิถุนายน 11, 2021, 01:29:08 AM »
[quote/]


ไอ้คนที่เล่นแบบ YOLO สุดตัวแบบเสี่ยงวัดใจแบบนี้ เล่นหุ้น Option หรือ Future หรืออย่างไรถึงได้เจ๊งเละเทะขนาดนี้


เพราะปกติถ้าเล่นหุ้นจะไม่เจ๊งหายนะ อย่างน้อยก็จะกินปันผลอย่างสบายใจ ถึงแม้ว่าราคาตก

มีหลายวิธีการเล่นหุ้นที่รวยก็รวยเร็ว  เจ๊งก็เจ็งหนักถึงขั้นหมดตัวเยอะแยะ  อย่างNet Settlement
หรืออย่างการซื้อหุ้นล่วงหน้า  การซื้อด้วยเงินค้ำประกันแล้วถ้าเจ๊งเกินยอดก็ถูกบังคับขาย  บลาๆๆๆ
 

ออฟไลน์ deaddy

  • ผู้สนับสนุนเซนนิคุงY3
  • จอมทัพหมีหนุ่ม
  • *
  • กระทู้: 7,905
  • ถูกใจแล้ว: 2941 ครั้ง
  • ความนิยม: +206/-1
Re: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน
« ตอบกลับ #95 เมื่อ: มิถุนายน 11, 2021, 06:14:10 AM »
[quote/]

มีหลายวิธีการเล่นหุ้นที่รวยก็รวยเร็ว  เจ๊งก็เจ็งหนักถึงขั้นหมดตัวเยอะแยะ  อย่างNet Settlement
หรืออย่างการซื้อหุ้นล่วงหน้า  การซื้อด้วยเงินค้ำประกันแล้วถ้าเจ๊งเกินยอดก็ถูกบังคับขาย  บลาๆๆๆ


สิ่งที่จะเกิดประจำคือ ถ้าทุบถึงจุดๆนึงจะมีคนโดนบังคับขายไปแล้ว
พอระบบทำงาน ก็จะกดซื้อกลับคืนอย่างไว
แปลว่ามีคนขายขาดทุนทันที :(


ส่วนพวกเงินเย็นหรอ เห้ยมัวแต่.... ไม่ว่างดูจบไปตอนไหวฟะ ;D
 

ออฟไลน์ samuison

  • ยอดกวีแห่งเขาเซนนิคุมะ
  • จอมทัพหมีหนุ่ม
  • *
  • กระทู้: 9,215
  • ถูกใจแล้ว: 3017 ครั้ง
  • ความนิยม: +175/-429
Re: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน
« ตอบกลับ #96 เมื่อ: มิถุนายน 11, 2021, 12:47:14 PM »
คนที่มีทุนมากได้เปรียบมากคือสัจธรรมของทุนนิยม
ที่ผมเอามาเป็นบทเรียนสอนใจของผมคือเกาะแห่ท้องห้าของโดราเอมอนน่ะครับ
หากอยู่คนเดียว ใช้เวลาสร้างเกาะสองสามปี
มีซึเนะโอะ เข้เามาออกทุนร่วมหุ้นสร้างเเกาะเสร็จในสองสัปดาห์
ซึเนะโอะพยายามเบ่งว่าเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ แต่โดนไจแอนท์กระทืบ
ไปเจอคนวิเคราะห์ว่านี่คือ การมีกฎแต่ขาดการบังคับใช้
แค่ก่อนจะเริ่มผจญภัย อ.ฟูจิโกะ ปล่อยมุกทุนนิยบมมมาก่อนด้วยซ้ำล่ะครับ
มันบอกได้อย่างหนึ่งว่า ระบบค้าขายเกิดขึ้นได้เพระา มันมีคนที่ถือปืนคอยคุมอยู่ว่าให้แต่ละคนเล่นกันดีดี ???
http://goshujin.tk/index.php?topic=944.0
นิยาย crossover Harry Potter/Type Moon ดูว่าคนที่มีเวทมนตร์อย่างแฮร์รี่ จะเอาตัวรอดอย่างไร ในโลกที่โหดร้ายของ ไทป์มูน
 
เหล่าหมีที่ถูกใจสิ่งนี้: sariora123, name123

ออฟไลน์ sariora123

  • จอมพลหมีชั้นกลาง
  • **
  • กระทู้: 12,215
  • ถูกใจแล้ว: 4986 ครั้ง
  • ความนิยม: +407/-442
Re: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน
« ตอบกลับ #97 เมื่อ: มิถุนายน 11, 2021, 01:40:37 PM »
มังงะ แมวสีฟ้า จริงๆ แล้ว เป็นมังงะแนว เสียดสีสังคมนะครับ


ในยุดทึี อจ. แกยังไม้ได้เข้า คลับคนเขีบฃยนไม่จบ ;D
 

ออฟไลน์ Black7nos

  • ผู้สนับสนุนเซนนิคุงY3
  • แม่ทัพหมีอาวุโส
  • ****
  • กระทู้: 4,612
  • ถูกใจแล้ว: 3469 ครั้ง
  • ความนิยม: +214/-286
Re: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน
« ตอบกลับ #98 เมื่อ: มิถุนายน 11, 2021, 02:43:21 PM »
[quote/]
 ไม่ใช้แล้วละครับ direct democracy  ตามชื่อเลยครับ คือเลือกตั้งโหวตตรง ตั้งกฎหมายโหวตตรงโดยประชาชน ตั้งแม่ทัพ โหวตตรง ตัดสินคดีโหวตตรงๆ แบบเอเธนครับ ส่วนเจ้าของกิจการก ก็คือปัจเจกชน


โรจาว่า ใช้ระบบที่คล้ายคอมมิวนิสต์มากและเป็นต้นแบบของคอมมิวนิสต์ ซึ่งคิดค้นโดยยิว ชื่อว่า กี๊บบุช คล้ายกับคอมมิวนิสต์แต่เป็นยูนิตเล็กลง แต่ละคนในกลุ่มต้อง แชร์ผลผลิต การลงทุน และกำไรเท่าๆกัน


โรจาว่าพิสูจน์แล้วว่าแข็งแกร่งรบชนะ ก็ไม่ต่างอะไรกับอมมิวนิสต์ในสงครามโลกครั้งที่ 2 เลยครับ โซเวียตก็รบชนะ จีนคอมมิวนิสต์ก็ชนะหลังสงครามเย็นก็มีประเทศคอมมิวนิสต์มากขึ้นเรื่อยๆชนะอย่างต่อเนื่อง แต่นั่นมันเรื่องของสงครามเรื่องเศรษฐกิจมันคนละเรื่องกันครับ

ส่วนสวิสเป็นประชาธิปไตยกึ่งตรงคล้ายเอเธนสิครับแต่ไม่มีคอมมูนเหมือนโรจาว่า ระบบที่จะทำลายเศรษฐกิจโรจาว่าคือคอมมูนครับ ส่วนประชาธิปไตยทางตรงจะใช้ได้ดีกับประเทศเล็กๆแบบเอเธนส์










@nosta


โรจาว่า ไม่มีระบบขุนศึก หรือ ผู้นำอะไรนะครับ และมันก็ไม่เหมือนแบบกรีกด้วย


ระบบกรีกคือระบบนครรัฐ วุฒิสมาชิกของสภาจะเป็นเจ้าครองเมือง คนรวยนายทุน มาหารือกัน


หรือที่จะเรียกอีกอย่างว่า "ระบบสภาศักดินา" กรีกเป็นผู้เริ่มแนวคิดประชาธิปไตย แต่พวกเขาก็ยังไม่ใช่ประชาธิปไตยนะครับ เป็นแค่ศักดินาที่มีสภา


ประชาธิปไตย ในความหมายของไทย คือ อำนาจเป็นของประชาชน แต่ต่างประเทศเขาไม่ได้ให้ความหมายประชาธิปไตยแค่กรอบเท่านี้


แต่ประชาธิปไตยในความหมายที่แท้จริง และคือ Direct Democracy "เรามีชีวิตที่เราสามารถกำหนดชีวิตของเราเองได้โดยไม่ต้องให้ใครมากำหนด นอกจากตัวเราเอง"


ซึ่งตรงข้ามกับคอมมิวนิสต์ ทุนนิยมเสรี ศักดินา และสังคมนิยม ที่รัฐจะเป็นคนกำหนดทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นนโยบาย สวัสดิการ ภาษี ความเป็นเจ้าของทรัพย์สิน


ทุกระบอบที่กล่าวมา เป็นการบริหารแบบบนลงล่าง (Top-Down) แต่ Direct Democracy จะกระจายและย่อยอำนาจให้เป็นหน่วยเล็กที่สุด ที่เรียกกันว่า "ชุมชน"


เพื่อให้เกิดการบริหารแบบจากล่างขึ้นบน (Bottom-Up) ไม่มีนักการเมือง ผู้นำ ผู้มีอำนาจเสนอนโยบายบนลงล่าง มีเพียงแค่หน่วยย่อยที่เล็กที่สุดคือ"ชุมชน"เสนอนโยบายจากล่างขึ้นบนเท่านั้น


ยกตัวอย่าง
ระบอบประชาธิปไตยแบบทุนนิยม
1.ประชาชนเลือกตั้งผู้แทน เพื่อให้ผู้แทนที่ชนะเลือกตั้งหยิบยืมอำนาจจากประชาชนไปบริหารหรือออกกฎหมายชั่วคราว
2.ฝ่ายบริหารเสนอนโยบายและงบประมาณที่ต้องใช้แก่นโยบาย
3.สภานิติบัญญัติถกเถียงและโหวตผ่านงบประมาณ และร่างกฎหมาย
4.เมื่อโหวตผ่านแล้ว ฝ่ายบริหารดำเนินนโยบายได้แค่ตามที่กฎหมายกำหนด
5.สภานิติบัญญัติเป็นผู้เฝ้าตรวจสอบการทำงานฝ่ายบริหาร
6.ตลาดเสรี แต่มีระบบสัมปทานผูกขาดบางธุรกิจและบางธุรกิจเกี่ยวข้องกับสาธารณูปโภค เช่น รถไฟ โรงไฟฟ้า ทางด่วน
7.เอกชนถือครองทรัพย์สินที่ดิน และมรดกเท่าไหร่ก็ได้ ไม่มีภาษีที่ดินหรือมรดก


คอมมิวนิสต์ แบบอุดมคติของคาร์ล มาร์ก ไม่ใช่แบบเหมา หรือ สตาลิน (ยังไม่เกิดขึ้นจริง แต่มันคือ ระบอบที่ให้ความสำคัญกับ Concept รัฐชาติ แบบสุดทาง)
1.ประชาชนทุกคนคือสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ และสมาชิกทุกคนของพรรคเลือกผู้นำ และให้ผู้นำหยิบยืมอำนาจชั่วคราว
2.ผู้นำและฝ่ายบริหาร เป็นผู้ออกนโยบาย ดำเนินนโยบาย และผ่านร่างกฎหมาย ในคนเดียวกัน
3.ทุกธุรกิจส่วนหนึ่ง อยู่ในความดูแลของรัฐ รัฐมีความเป็นเจ้าของในการถือหุ้นร่วมกับเอกชนทุกธุรกิจ เช่น เปิดโรงงานผลิตขนมขบเคี้ยวโง่ๆ เอกชนจะไม่ได้ถือหุ้น 100% แต่รัฐจะมีส่วนร่วมในการถือหุ้น อาจจะ 10% หรือ 20% แล้วแต่ข้อตกลง
4.ธุรกิจประเภทสถาบันการเงิน และสาธารณูปโภค รัฐมีความเป็นเจ้าของ 100% เพื่อป้องกันการผูกขาดปัจจัยการดำรงชีวิต เช่น การศึกษา ไฟฟ้า น้ำ การสื่อสาร ถนน รถไฟ รถไฟฟ้า เป็นต้น ไม่มีการให้สัมปทานใดๆแก่เอกชน
5.รัฐเป็นผู้มีอำนาจในการสั่งให้ประชาชนย้ายถิ่นฐานได้ เพื่อทำให้ประชากรแต่ละพื้นที่มีการกระจายตัวอย่างเท่ากัน เพื่อให้แต่ละเมืองมีกำลังผลิตไล่เลี่ยกัน ไม่มีเมืองใหญ่เอาเปรียบเมืองเล็ก
6.จัดเก็บภาษีแบบอัตราก้าวหน้าหรือขั้นบันไดเท่านั้น
7.ไม่มีประชาชนคนไหนเป็นเจ้าของที่ดินอย่างถาวร รัฐเป็นผู้ให้ประชาชนเช่าที่ดิน เช่น 99 ปี เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนที่ดินและการกักตุนที่ดินของนายทุน และมีภาษีที่ดิน
8.จัดเก็บภาษีมรดกแพงมากครับ เพื่อไม่ให้รุ่นลูกกินบุญเก่าจากพ่อแม่อย่างเดียวโดยที่ไม่ต้องทำงานแบบชนชั้นอภิสิทธิชนหรือศักดินา


ระบบประชาธิปไตยแบบสังคมนิยม (สแกนดิเนเวีย) หรือ Semi Democracy and Semi Communist

1.คล้ายกับประชาธิปไตยทุนนิยมทุกประการเพียงแต่ไม่มีระบบสัมปทานผูกขาด
2.ใช้อัตราภาษีก้าวหน้าหรือขั้นบันได คนจนเก็บถูก คนรวยเก็บแพง คำนึงการใช้ทรัพยากร ใครใช้มากจ่ายมาก ใครใช้น้อยจ่ายน้อย
3.รัฐสวัสดิการเต็มรูปแบบ
4.ภาษีมรดกแพง
5.เอกชนเป็นเจ้าของที่ดินได้ แต่มีภาษีที่ดินแพง
6.ใช้ระบบ Co-Determination กิจการใดๆที่มีบอร์ดบริหารจะต้องมีลูกจ้างเข้าไปนั่งเป็นบอร์ดบริหารด้วย


ระบบศักดินาเป็นอย่างไรรู้กันอยู่ ผมขอข้ามนะ


จากตรงนี้จะเห็นว่าอำนาจจะบริหารจากบนลงล่าง(Top-Down) หมดเลย


แต่ Direct Democracy หรือ ประชาธิปไตยทางตรง (โรจาว่า) จะเป็นการบริหารแบบล่างขึ้นบน(Bottom Up)
1.หน่วยย่อยที่สุดของอำนาจ คือ ชุมชน ไม่มี Concept รัฐชาติ ไม่มีนักการเมือง ไม่มีเจ้าเมือง ไม่มีผู้นำชุมชน คนในชุมชนคือผู้เล่นการเมืองเอง
2.ไม่มีการจัดเก็บภาษี มีแต่การลงขัน เป็นทีละครั้งๆทีละนโยบาย หรือเก็บได้แค่ค่าบำรุง และไม่มีรัฐสวัสดิการ
3.การดำเนินนโยบายดำเนินผลโหวตของชุมชนเท่าน้น ไม่ว่าจะเป็นการออกกฎหมายข้อตกลงของสังคมร่วมกัน หรือ การก่อสร้างสาธารณูปโภค แต่นโยบายหรือสาธารณูปโภคนั้นจะมีขอบเขตใช้ได้เฉพาะชุมชนนั้นเท่านั้น และทุกคนในชุมชนมีเป็นผู้ถือหุ้นสาธารณูปโภคนั้น
4.กรณีชุมชนไม่สามารถสร้างสาธารณูปโภคเองได้ ชุมชน A จะไปคุยกับชุมชน B เพื่อระดมทุนสร้างสาธารณูปโภคที่ใหญ่ขึ้น และเมื่อทั้งคนในชุมชน A และชุมชน B สามารถดำเนินนโยบายหรือสร้างสาธารณูปโภค สาธารณูปโภคนั้นจะใช้ได้แค่ชุมชน A กับ ชุนชน B เท่านั้น แต่กรณีที่สร้างสาธารณูปโภคที่ใหญ่มากๆ เช่น เขื่อน โรงไฟฟ้า การรวมกันของชุมชนหลายชุมชนมากขึ้นเพื่อระดมทุนสร้าง อาจจะเป็น A,B,C...Z เลยก็ได้
5.เน้นนโยบายแบบธุรกิจประเภท Co-op และ Co-op ก็ไม่ใช่สหกรณ์ ไม่มีลูกจ้าง เพราะคนทำงานที่นี่เป็นทั้งพนักงานและเจ้าของในเวลาเดียวกัน ไม่มีรายจ่ายเงินเดือน มีแต่เงินปันผลรายเดือน
6.ตลาดเสรีขั้นสุด ไม่มีสัมปทานใดๆ ทุกธุรกิจ รวมไปถึงสาธารณูปโภคเอกชนเป็นเจ้าของได้หมด

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มิถุนายน 11, 2021, 02:48:10 PM โดย Black7nos »
ผู้กล้าอาณาจักรกุหลาบ https://goshujin.tk/index.php/topic,15078.0.html
ึคุณพ่อผมถูกเอาเงินจ้างฟาดหัว ผมเลยต้องมาเป็นนักมวยไทยที่ต่างแดน https://goshujin.tk/index.php?topic=32172.msg796105#msg796105
 

ออฟไลน์ nosta

  • แม่ทัพหมีชั้นสูง
  • ***
  • กระทู้: 2,522
  • ถูกใจแล้ว: 1150 ครั้ง
  • ความนิยม: +106/-145
Re: เงินกู้ ควรเป็นสิทธิขั้น พื้นฐาน
« ตอบกลับ #99 เมื่อ: มิถุนายน 12, 2021, 10:56:29 AM »
[quote/]
@nosta


โรจาว่า ไม่มีระบบขุนศึก หรือ ผู้นำอะไรนะครับ และมันก็ไม่เหมือนแบบกรีกด้วย


ระบบกรีกคือระบบนครรัฐ วุฒิสมาชิกของสภาจะเป็นเจ้าครองเมือง คนรวยนายทุน มาหารือกัน


หรือที่จะเรียกอีกอย่างว่า "ระบบสภาศักดินา" กรีกเป็นผู้เริ่มแนวคิดประชาธิปไตย แต่พวกเขาก็ยังไม่ใช่ประชาธิปไตยนะครับ เป็นแค่ศักดินาที่มีสภา


ประชาธิปไตย ในความหมายของไทย คือ อำนาจเป็นของประชาชน แต่ต่างประเทศเขาไม่ได้ให้ความหมายประชาธิปไตยแค่กรอบเท่านี้


แต่ประชาธิปไตยในความหมายที่แท้จริง และคือ Direct Democracy "เรามีชีวิตที่เราสามารถกำหนดชีวิตของเราเองได้โดยไม่ต้องให้ใครมากำหนด นอกจากตัวเราเอง"


ซึ่งตรงข้ามกับคอมมิวนิสต์ ทุนนิยมเสรี ศักดินา และสังคมนิยม ที่รัฐจะเป็นคนกำหนดทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นนโยบาย สวัสดิการ ภาษี ความเป็นเจ้าของทรัพย์สิน


ทุกระบอบที่กล่าวมา เป็นการบริหารแบบบนลงล่าง (Top-Down) แต่ Direct Democracy จะกระจายและย่อยอำนาจให้เป็นหน่วยเล็กที่สุด ที่เรียกกันว่า "ชุมชน"


เพื่อให้เกิดการบริหารแบบจากล่างขึ้นบน (Bottom-Up) ไม่มีนักการเมือง ผู้นำ ผู้มีอำนาจเสนอนโยบายบนลงล่าง มีเพียงแค่หน่วยย่อยที่เล็กที่สุดคือ"ชุมชน"เสนอนโยบายจากล่างขึ้นบนเท่านั้น


ยกตัวอย่าง
ระบอบประชาธิปไตยแบบทุนนิยม
1.ประชาชนเลือกตั้งผู้แทน เพื่อให้ผู้แทนที่ชนะเลือกตั้งหยิบยืมอำนาจจากประชาชนไปบริหารหรือออกกฎหมายชั่วคราว
2.ฝ่ายบริหารเสนอนโยบายและงบประมาณที่ต้องใช้แก่นโยบาย
3.สภานิติบัญญัติถกเถียงและโหวตผ่านงบประมาณ และร่างกฎหมาย
4.เมื่อโหวตผ่านแล้ว ฝ่ายบริหารดำเนินนโยบายได้แค่ตามที่กฎหมายกำหนด
5.สภานิติบัญญัติเป็นผู้เฝ้าตรวจสอบการทำงานฝ่ายบริหาร
6.ตลาดเสรี แต่มีระบบสัมปทานผูกขาดบางธุรกิจและบางธุรกิจเกี่ยวข้องกับสาธารณูปโภค เช่น รถไฟ โรงไฟฟ้า ทางด่วน
7.เอกชนถือครองทรัพย์สินที่ดิน และมรดกเท่าไหร่ก็ได้ ไม่มีภาษีที่ดินหรือมรดก


คอมมิวนิสต์ แบบอุดมคติของคาร์ล มาร์ก ไม่ใช่แบบเหมา หรือ สตาลิน (ยังไม่เกิดขึ้นจริง แต่มันคือ ระบอบที่ให้ความสำคัญกับ Concept รัฐชาติ แบบสุดทาง)
1.ประชาชนทุกคนคือสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ และสมาชิกทุกคนของพรรคเลือกผู้นำ และให้ผู้นำหยิบยืมอำนาจชั่วคราว
2.ผู้นำและฝ่ายบริหาร เป็นผู้ออกนโยบาย ดำเนินนโยบาย และผ่านร่างกฎหมาย ในคนเดียวกัน
3.ทุกธุรกิจส่วนหนึ่ง อยู่ในความดูแลของรัฐ รัฐมีความเป็นเจ้าของในการถือหุ้นร่วมกับเอกชนทุกธุรกิจ เช่น เปิดโรงงานผลิตขนมขบเคี้ยวโง่ๆ เอกชนจะไม่ได้ถือหุ้น 100% แต่รัฐจะมีส่วนร่วมในการถือหุ้น อาจจะ 10% หรือ 20% แล้วแต่ข้อตกลง
4.ธุรกิจประเภทสถาบันการเงิน และสาธารณูปโภค รัฐมีความเป็นเจ้าของ 100% เพื่อป้องกันการผูกขาดปัจจัยการดำรงชีวิต เช่น การศึกษา ไฟฟ้า น้ำ การสื่อสาร ถนน รถไฟ รถไฟฟ้า เป็นต้น ไม่มีการให้สัมปทานใดๆแก่เอกชน
5.รัฐเป็นผู้มีอำนาจในการสั่งให้ประชาชนย้ายถิ่นฐานได้ เพื่อทำให้ประชากรแต่ละพื้นที่มีการกระจายตัวอย่างเท่ากัน เพื่อให้แต่ละเมืองมีกำลังผลิตไล่เลี่ยกัน ไม่มีเมืองใหญ่เอาเปรียบเมืองเล็ก
6.จัดเก็บภาษีแบบอัตราก้าวหน้าหรือขั้นบันไดเท่านั้น
7.ไม่มีประชาชนคนไหนเป็นเจ้าของที่ดินอย่างถาวร รัฐเป็นผู้ให้ประชาชนเช่าที่ดิน เช่น 99 ปี เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนที่ดินและการกักตุนที่ดินของนายทุน และมีภาษีที่ดิน
8.จัดเก็บภาษีมรดกแพงมากครับ เพื่อไม่ให้รุ่นลูกกินบุญเก่าจากพ่อแม่อย่างเดียวโดยที่ไม่ต้องทำงานแบบชนชั้นอภิสิทธิชนหรือศักดินา


ระบบประชาธิปไตยแบบสังคมนิยม (สแกนดิเนเวีย) หรือ Semi Democracy and Semi Communist

1.คล้ายกับประชาธิปไตยทุนนิยมทุกประการเพียงแต่ไม่มีระบบสัมปทานผูกขาด
2.ใช้อัตราภาษีก้าวหน้าหรือขั้นบันได คนจนเก็บถูก คนรวยเก็บแพง คำนึงการใช้ทรัพยากร ใครใช้มากจ่ายมาก ใครใช้น้อยจ่ายน้อย
3.รัฐสวัสดิการเต็มรูปแบบ
4.ภาษีมรดกแพง
5.เอกชนเป็นเจ้าของที่ดินได้ แต่มีภาษีที่ดินแพง
6.ใช้ระบบ Co-Determination กิจการใดๆที่มีบอร์ดบริหารจะต้องมีลูกจ้างเข้าไปนั่งเป็นบอร์ดบริหารด้วย


ระบบศักดินาเป็นอย่างไรรู้กันอยู่ ผมขอข้ามนะ


จากตรงนี้จะเห็นว่าอำนาจจะบริหารจากบนลงล่าง(Top-Down) หมดเลย


แต่ Direct Democracy หรือ ประชาธิปไตยทางตรง (โรจาว่า) จะเป็นการบริหารแบบล่างขึ้นบน(Bottom Up)
1.หน่วยย่อยที่สุดของอำนาจ คือ ชุมชน ไม่มี Concept รัฐชาติ ไม่มีนักการเมือง ไม่มีเจ้าเมือง ไม่มีผู้นำชุมชน คนในชุมชนคือผู้เล่นการเมืองเอง
2.ไม่มีการจัดเก็บภาษี มีแต่การลงขัน เป็นทีละครั้งๆทีละนโยบาย หรือเก็บได้แค่ค่าบำรุง และไม่มีรัฐสวัสดิการ
3.การดำเนินนโยบายดำเนินผลโหวตของชุมชนเท่าน้น ไม่ว่าจะเป็นการออกกฎหมายข้อตกลงของสังคมร่วมกัน หรือ การก่อสร้างสาธารณูปโภค แต่นโยบายหรือสาธารณูปโภคนั้นจะมีขอบเขตใช้ได้เฉพาะชุมชนนั้นเท่านั้น และทุกคนในชุมชนมีเป็นผู้ถือหุ้นสาธารณูปโภคนั้น
4.กรณีชุมชนไม่สามารถสร้างสาธารณูปโภคเองได้ ชุมชน A จะไปคุยกับชุมชน B เพื่อระดมทุนสร้างสาธารณูปโภคที่ใหญ่ขึ้น และเมื่อทั้งคนในชุมชน A และชุมชน B สามารถดำเนินนโยบายหรือสร้างสาธารณูปโภค สาธารณูปโภคนั้นจะใช้ได้แค่ชุมชน A กับ ชุนชน B เท่านั้น แต่กรณีที่สร้างสาธารณูปโภคที่ใหญ่มากๆ เช่น เขื่อน โรงไฟฟ้า การรวมกันของชุมชนหลายชุมชนมากขึ้นเพื่อระดมทุนสร้าง อาจจะเป็น A,B,C...Z เลยก็ได้
5.เน้นนโยบายแบบธุรกิจประเภท Co-op และ Co-op ก็ไม่ใช่สหกรณ์ ไม่มีลูกจ้าง เพราะคนทำงานที่นี่เป็นทั้งพนักงานและเจ้าของในเวลาเดียวกัน ไม่มีรายจ่ายเงินเดือน มีแต่เงินปันผลรายเดือน
6.ตลาดเสรีขั้นสุด ไม่มีสัมปทานใดๆ ทุกธุรกิจ รวมไปถึงสาธารณูปโภคเอกชนเป็นเจ้าของได้หมด


ในโลกโบราณมีแต่เอเธนส์ที่เป็นประชาธิปไตยทางตรงครับ รัฐกรีกอื่นๆ เป็นระบอบกษัตริย์หมด ทั้งสปาต้า มาซิโดเรีย ธีป ไมนอส ถ้าพูดรวมๆกรีกปกครองแบบราชาธิปไตยครับ เอเธนส์คือข้อยกเว้น


ส่วน โรจาว่า ไม่ได้ปล่อยเศรษฐกิจเสรีเลยครับ มีการบังคับให้หุ้นเท่าไรกัน ซึ่งลดเสรีภาพในการถือครองทรัพย์สิน และออกกฎห้ามจ้างแรงงาน ก็ลดเสรีภาพในการจ้างงานอีก แถมทำมากทำน้อยก็ได้เท่ากันก็เป็นระบบคอมมูนที่เล็กลง การทำถนน สาธารณูปโภคก็ยากเย็นกว่าจะคุยกันรู้เรื่อง ระบบแบบนี้ไม่เวิร์คหรอกครับ แต่ก่อนจนอย่างไร เดี๋ยวนี้ก็จน อย่างนั้น อนาคตก็คาดหวังยากครับ ระบบแบบนี้คือคนคิดไม่ได้ดูประวัติศาสตร์เลย ในการทำงานให้มีประสิทธิภาพมนุษย์ต้องพึ่งความโลภเป๋นแรงผลักดัน ในเมื่อ ทำเท่าไหร่แต่ละคนได้เท่ากันหมด ก็ไม่ต่างจากนารวม ไม่จูงใจให้ทำงาน ทำไมต้องทำงานหนักทำงานชิวๆให้คนอื่นทำงานให้ดีกว่า
 
เหล่าหมีที่ถูกใจสิ่งนี้: pol

 

Tags:
แหล่งนิยายแปล แหล่งนิยาย นิยายแปล นิยายแต่ง มังงะ การ์ตูน อนิเมะ นายท่าน เว็บไซต์นายท่าน กระทู้สไลม์ สไลม์ยอดรัก